Now showing items 21-40 of 52

    • การพัฒนาสิทธิประโยชน์สำหรับการวินิจฉัย ดูแลรักษาและป้องกันโรคเอ็มพีเอสสำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ดวงฤดี วัฒนศิริชัยกุล; Duangrurdee Wattanasirichaigoon; อัจฉรา เสถียรกิจการชัย; Achara Sathienkijkanchai; ทิพยวิมล ทิมอรุณ; Thipwimol Tim-Aroon; จุฬาลักษณ์ คุปตานนท์; Chulaluck Kuptanon; ชัยศิริ เหลืองสินศิริ; Chaisiri Luangsinsiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ กรณีการวินิจฉัยดูแลรักษาฟื้นฟูและป้องกันโรค เพื่อการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคเอ็มพีเอส สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จากการทบทว ...
    • การศึกษาการกลายพันธุ์ของยีนด้วยวิธีการตรวจหาลำดับเบสของเอ็กโซมในกลุ่มอาการเนโฟรติกที่ไม่ตอบสนองต่อยาสเตียรอยด์ในผู้ป่วยเด็กไทย 

      สุขเกษม โฆษิตเศรษฐ; Sookkasem Khositseth; อนิรุธ ภัทรากาญจน์; Anirut Pattaragarn; นันทวัน ปิยะภาณี; Nuntawan Piyaphanee; ปวรี ศรัยสวัสดิ์; Pawaree Saisawat; สุวรรณี วิษณุโยธิน; Suwannee Wisanuyotin; กุลวิภา ตันทนะเทวินทร์; Kulwipa Tantanatewin; ณัฐิดา พงศ์วิไลรัตน์; Natthida Pongwilairat; ภาคภูมิ ภูมิจิตร; Parkpoom Bhummichitra; สุรัสวดี พิทักษ์ลิมนุวงศ์; Suratwadi Phithaklimnuwong; กิติวรรณ โรจนเนืองนิตย์; Kitiwan Rojnueangnit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-04)
      ที่มา : กลุ่มอาการเนโฟรติกแบบปฐมภูมิ (Idiopathic Nephrotic Syndrome, INS) เป็นโรคไตที่พบบ่อยที่สุดในผู้ป่วยเด็ก การกลายพันธุ์ของยีนก่อโรคเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดโรคนี้ในผู้ป่วยเด็กแรกเกิด และเด็กที่ไม่ตอบสนองต่อยาสเตียรอยด์ ...
    • การศึกษาขั้นสูงของลักษณะที่แสดงออกทางคลินิกและลักษณะทางพันธุกรรมในผู้ป่วยชาวไทยที่เป็นโรคคอเลสเตอรอลสูงทางพันธุกรรมเพื่อการประยุกต์ใช้ในทางคลินิก 

      วีรพันธุ์ โขวิฑูรกิจ; Weerapan Khovidhunkit; วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์; Vorasuk Shotelersuk; กัญญา ศุภปีติพร; Kanya Suphapeetiporn; รุ่งโรจน์ กฤตยพงษ์; Rungroj Krittayaphong; ปริญญ์ วาทีสาธกกิจ; Prin Vathesatogkit; เมตตาภรณ์ พรพัฒน์กุล; Mattabhorn Phornphutkul; วิชัย เส้นทอง; Vichai Senthong; ภรณี กนกโรจน์; Poranee Ganokroj (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      โรคคอเลสเตอรอลสูงทางพันธุกรรม (Familial Hypercholesterolemia, FH) เป็นสาเหตุทางพันธุกรรมที่พบบ่อยที่สุดของโรคหลอดเลือดและหัวใจ ในการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหนาของเอ็นร้อยหวายที่ข้อเท้าด้วยภาพถ่ายรังสีในผู้ป่วย ...
    • การศึกษาขั้นสูงของลักษณะที่แสดงออกทางคลินิกและลักษณะทางพันธุกรรมในผู้ป่วยชาวไทยที่เป็นโรคคอเลสเตอรอลสูงทางพันธุกรรมเพื่อการประยุกต์ใช้ในทางคลินิก ปีที่ 2 

      วีรพันธุ์ โขวิฑูรกิจ; Weerapan Khovidhunkit; วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์; Vorasuk Shotelersuk; กัญญา ศุภปีติพร; Kanya Suphapeetiporn; ภรณี กนกโรจน์; Poranee Ganokroj; น้ำผึ้ง นำการุณอรุณโรจน์; Numphung Numkarunarunrote (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)
      ที่มาและวัตถุประสงค์ : โรคคอเลสเตอรอลสูงทางพันธุกรรม (Familial Hypercholesterolemia, FH) เป็นสาเหตุทางพันธุกรรมที่พบบ่อยที่สุดของโรคหัวใจและหลอดเลือด ในการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหนาของเอ็นร้อยหวายที่ข้อเท้าด ...
    • การศึกษาความแปรผันทางพันธุกรรมในอาสาสมัครผู้ป่วยโรคอ้วนชาวไทย เพื่อพัฒนาคะแนนความเสี่ยงทางพันธุกรรมสำหรับประเมินความรุนแรงทางคลินิก และการตอบสนองต่อการรักษาอย่างจำเพาะบุคคล 

      ชาติชาย ไชยชนะ; Chartchai Chaichana; พรพจน์ เปรมโยธิน; Pornpoj Pramyothin; วันจันทร์ ดีคุ้ม; Wanjan Deekum; นันทา คุมคณะ; Nanta Khumkhana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      โรคอ้วนได้กลายเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่ร้ายแรงที่สุดปัญหาหนึ่งของโลก เนื่องจากสาเหตุของโรคอ้วนนั้นซับซ้อนและมีหลายปัจจัย การวิจัยยุคใหม่เปิดเผยให้เห็นการควบคุมโรคอ้วนอย่างมีประสิทธิภาพผ่านปฏิสัมพันธ์ของยีนและโภชนาการ ...
    • การศึกษาจีโนมแบบบูรณาการและหลากมิติของเนื้องอกสมองกลีโอมา 

      สิทธิ์ สาธรสุเมธี; Sith Sathornsumetee; พรสุข ชื่นสุชน; Pornsuk Cheunsuchon; ภูมิ สุขธิติพัฒน์; Bhoom Suktitipat; นิธิ อัศวภาณุมาศ; Nithi Asavapanumas; นพัต จันทรวิสูตร; Naphat Chantaravisoot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)
      เนื้องอกสมองชนิด Glioma เป็นเนื้องอกที่มีการพยากรณ์โรคเลวที่สุดชนิดหนึ่งในมนุษย์ การรักษามาตรฐานในปัจจุบัน ได้แก่ การผ่าตัด การให้รังสีรักษาและเคมีบำบัด มีประสิทธิภาพจำกัดและมีอุปสรรคมากกว่ามะเร็งชนิดอื่น ผู้ป่วยที่เป็นโ ...
    • การศึกษาภาวะพหุสัณฐานของนิวคลีโอไทด์เดี่ยวที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคเรื้อรังของประเทศไทยโดยใช้ชิป 

      ทัศมลวรรณ ไชยสังข์; Tassamonwan Chaiyasung; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; ปุณณา คุณหพันธ์; Punna Kunhapan; จักรกฤษณ์ เอื้อสุนทรวัฒนา; Jakris Eu-ahsunthornwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      การศึกษาภาวะพหุสัณฐานของนิวคลีโอไทด์เดี่ยวที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคเรื้อรังของประเทศไทยโดยใช้ชิป เป็นโครงการที่ดำเนินการศึกษาในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 1,800 ตัวอย่าง โดยในปีที่ 1 รับตัวอย่างจาก 4 โครงการ เพื่อดำเนินการ ...
    • การศึกษาวิทยาภูมิคุ้มกันและอณูพันธุศาสตร์ของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการวินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปี ในประเทศไทย 

      ณัฐเชษฐ์ เปล่งวิทยา; Nattachet Plengvidhya; วทิพย์ ตั้งจิตติโภคิน; Watip Tangjittipokin; ทัศนีย์ นาคดนตรี; Tassanee Narkdontri; นิภาภรณ์ ธีระวัฒนพงศ์; Nipaporn Teerawattanapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      ในปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีการศึกษาข้อมูลทางระบาดวิทยาเกี่ยวกับโรคเบาหวานที่วินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปี ในระยะยาว การศึกษาในเด็กและวัยรุ่นชาวไทยได้รับการตีพิมพ์เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 5 ปี มาแล้ว ข้อมูลการศึกษาล่าสุดมีแนวโน้มพบว่า ...
    • การศึกษาหารหัสพันธุกรรมที่มีความสัมพันธ์กับการติดกัญชาในกลุ่มประชากรไทย 

      พีรนิธ กันตะบุตร; Piranit Kantaputra; ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา; Thiravat Hemachudha; สรายุทธ์ บุญชัยพานิชวัฒนา; Sarayuth Boonchaipanitwattana; ล่ำซำ ลักขณาภิชนชัช; Lumsum Lukanapichonchut; สมชาย ธนะสิทธิชัย; Somchai Thanasitthichai; สำเนา นิลบรรพ์; Sumnao Nilaban; ธนพัฒน์ ศาสตระรุจิ; Thanapat Sastraruji; อลิษา วิลันโท; Alisa Wilantho; ชุมพล งามผิว; Chumpol Ngamphiw; วอทันยู นครศรี; Vorthunju Nakhonsri; ศิษเฎศ ทองสิมา; Sissades Tongsima (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      จุดประสงค์ของการวิจัย คือ ต้องการหาการเปลี่ยนแปลงในยีนที่มีความสัมพันธ์กับการติดกัญชาในคนไทย โดยศึกษาในคนไทยที่ติดกัญชา จำนวน 144 คน และคนที่มีประวัติการใช้กัญชาแต่ไม่ติด จำนวน 20 คน ซักประวัติและเก็บเลือดหรือน้ำลายเพื่อไปสกัด ...
    • การศึกษาเอกโซมของผู้เสียชีวิตกลุ่มอาการตายโดยมิปรากฏเหตุแบบฉับพลันในกลุ่มประชากรไทยที่เสียชีวิตในอายุน้อย 

      กรเกียรติ วงศ์ไพศาลสิน; Kornkiat Vongpaisarnsin; ทิฆัมพร สถิรแพทย์; Tikumphorn Sathirapatya; ปุณยภัทร สุขวุฒิยา; Poonyapat Sukawutthiya; ฮัสนีย์ โนะ; Hasnee Noh; ภัคค์ปภัส วรัชต์ญารมย์; Pagparpat Varrathyarom; รัชติพรรณ ปิติวรารมย์; Rachtipan Pitiwararom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)
      การตรวจสารพันธุกรรมเพื่อใช้ในการหาปัจจัยทางพันธุกรรมที่เป็นสาเหตุของการก่อโรคหรือมีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรคนั้น ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายทางการแพทย์ในปัจจุบัน ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการค้นหายีนก่อโรคที่หายากหรือโรคที่มีปัจจัย ...
    • การศึกษาแบคทีเรียและโปรตีโอมน้ำลายที่จำเพาะกับโรคปริทันต์ในผู้ป่วยที่เป็นโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกันหายาก (ปี 2564) 

      ฑัณฑริรา พรทวีทัศน์; Thantrira Porntaveetus; นรินทร์ อินทรักษ์; Narin Intarak; ธนากร ธีรภานนท์; Thanakorn Theerapanon; เสริมพร ทวีทรัพย์พิทักษ์; Sermporn Thaweesapphithak; ทิตยา ไชยบุญญารักษ์; Thitaya Chaiboonyarak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)
      โรคปริทันต์เป็นปัญหาที่พบบ่อยในประชากรทั่วไปโดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกัน ซึ่งเป็นโรคที่เรื้อรังส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต เนื่องจากความรู้ความเข้าใจในลักษณะทางช่องปากของผู้ป่วยโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกันมีอยู่อย่างจำกัด ...
    • การสร้างและพัฒนาแพลตฟอร์มการแก้ไขจีโนมเพื่อการรักษาอย่างจำเพาะในโรคพันธุกรรมชนิดรุนแรง (ปีที่ 2) 

      กัญญา ศุภปีติพร; Kanya Suphapeetiporn; นิพัญจน์ อิศรเสนา ณ อยุธยา; Nipan Israsena; วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์; Vorasuk Shotelersuk; นริศรา สุรทานต์นนท์; Narissara Suratannon; แพรวพรรณ อิงรุ่งเรืองเลิศ; Praewphan Ingrungruanglert; รุ่งนภา อิทธิวุฒิ; Rungnapa Ittiwut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)
      โรคที่เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมมีความหลากหลายมาก บางโรคมีความรุนแรงทำให้ผู้ป่วยทุพพลภาพหรือเสียชีวิตในเวลาไม่นาน ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องแบบปฐมภูมิ หรือ Primary Immunodeficiency Disorders (PIDs) เป็นโรคทางพันธุกรรม ...
    • การเพิ่มสิทธิประโยชน์การรักษาผู้ป่วยโรค HAE (Hereditary Angioedema) ที่เกิดจากความผิดปกติของเอนไซม์ C1 esterase inhibitor: C1-INH 

      สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; พจมาน พิศาลประภา; Pochamana Phisalprapa; กิรติ เก่งกล้า; Kirati Kengkla; สุกฤษฏิ์ กาญจนสุระกิจ; Sukrit Kanchanasurakit; ชญานิศ โฆสิตะมงคล; Chayanis Kositamongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      โรค Hereditary angioedema (HAE) เป็นโรคทางพันธุกรรมหายากที่คุกคามชีวิตผู้ป่วย โรคนี้สามารถนำไปสู่การเกิดอาการกำเริบเฉียบพลัน โดยมีอาการบวมอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นในบริเวณต่างๆ เช่น ใบหน้า ทางเดินอาหารและกล่องเสียง ...
    • การแสดงออกของไมโครอาร์เอ็นเอในผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี 

      วรรณา ชัยเจริญกุล; Wanna Chaijaroenkul; เกศรา ณ บางช้าง; Kesara Na-Bangchang; ตุลยากร เปล่งสุริยการ; Tullayakorn Plengsuriyakarn; มยุรี ธาราสุข; Mayuri Tarasuk; กัลยรัตน์ บุญประเสริฐ; Kanyarat Boonprasert; นิภาวรรณ ลาภบุญเรือง; Nipawan Labbunruang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      โรคมะเร็งท่อน้ำดีเป็นปัญหาที่สำคัญทางสาธารณสุขของประเทศไทยโดยเฉพาะบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มะเร็งชนิดนี้มีความรุนแรงมากเนื่องจากไม่มีเครื่องมือในการวินิจฉัยระยะเริ่มแรกและผลการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดมีการตอบสนองไม่ดี ...
    • ข้อมูลรหัสพันธุกรรม คืออะไร 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)
      รหัสพันธุกรรมของมนุษย์ เป็นพิมพ์เขียวที่กำหนดว่าเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของคนเราแต่ละคน ควรมีการทำงานอย่างไร รหัสพันธุกรรมนี้อยู่ในดีเอ็นเอ (DNA) และ อาร์เอ็นเอ (RNA) ภายในเซลล์ต่างๆ ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ ...
    • ความแตกต่างทางพันธุกรรม: สู่การแพทย์จีโนมิกส์ ถอดรหัสพันธุกรรมรักษาตรงเหตุ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)
      ปัจจุบันเทคโนโลยีในการถอดลำดับยีนหรือสารพันธุกรรมมีความก้าวหน้ามากขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย ตลอดจนแพทย์ สามารถค้นพบการกลายพันธุ์ในยีนก่อโรคยีนใหม่ที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ หรือแม้กระทั่งโรคที่หาพบได้ยากในคนไทย ...
    • จีโนมิกส์ ประเทศไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      Infographic แนะนำแผนงานจีโนมิกส์ ประเทศไทย (Genomics Thailand) การแพทย์จีโนมิกส์ คือ การแพทย์ที่อาศัยเทคโนโลยีพันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล เพื่อประเมินความเสี่ยง วินิจฉัย และพยากรณ์โรค วิสัยทัศน์ คือ ประเทศไทยเป็นผู้นำด้านการ ...
    • จีโนมิกส์ของเชื้อ Methicillin-resistant Staphylococcus aureus สายพันธุ์ที่มีกำเนิดในโรงพยาบาล ชุมชน และปศุสัตว์ เพื่อการประยุกต์ใช้ทางการแพทย์และสาธารณสุข 

      อุษณีย์ วัฒนนันท์กุล; Usanee Wattananandkul; ศิริพงษ์ ตองใจ; Siripong Tongjai; ปาริชาติ สาลี; Parichat Salee; นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล; Nongyao Kasatpibal; วสันต์ กาติ๊บ; Wasan Katip; หทัยรัตน์ ธนัญชัย; Hathairat Thananchai; ผดุงเกียรติ แข็มน้อย; Phadungkiat Khamnoi; ขจรศักดิ์ ตระกูลพัว; Khajornsak Tragoolpua; กัญญา ปรีชาศุทธิ์; Kanya Preechasuth (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      เชื้อ Methicillin-Resistant Staphylococcus Aureus (MRSA) เป็นหนึ่งในแบคทีเรียดื้อยาสำคัญ เนื่องจากมีความหลากหลายทางพันธุกรรมและระบาดวิทยาสูง พบได้ทั่วโลกและสามารถทำให้เกิดการติดเชื้อได้ทั้งในโรงพยาบาล ชุมชนและปศุสัตว์ ...
    • จีโนไทป์ของยีนเอชแอลเอคลาสหนึ่งและสองโดยเทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับเบสแบบโมเลกุลเดี่ยวในผู้ป่วยไทยที่ได้รับการปลูกถ่ายไต 

      ยิ่งยศ อวิหิงสานนท์; Yingyos Avihingsanont; ปาจรีย์ จริยวิลาศกุล; Pajaree Chariyavilaskul; มนพัทธ์ ชำนาญพล; Monpat Chammanphon; สุวศิน อุดมกาญจนนันท์; Suwasin Udomkarnjananun; ณัฐวุฒิ โตวนำชัย; Natavudh Townamchai; เกื้อเกียรติ ประดิษฐ์พรศิลป์; Kearkiat Praditpornsilp; ณัฏฐิยา หิรัญกาญจน์; Nattiya Hirankarn; มนนัทธ์ พงษ์พานิช; Monnat Pongpanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      การปลูกถ่ายอวัยวะเป็นวิธีการรักษาที่ช่วยต่อชีวิตใหม่ให้แก่ผู้ป่วยที่หมดหวังที่จะรักษาด้วยวิธีการอื่นๆ เพื่อให้มีชีวิตอยู่ต่อไปได้ ไตเป็นอวัยวะที่มีการปลูกถ่ายมากที่สุดในประเทศไทยตลอดระยะเวลากว่า 50 ปีที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าว ...
    • ทราบได้อย่างไรว่ามะเร็งเต้านมที่เป็นอยู่มีสาเหตุมาจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรมหรือไม่ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)
      การวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเต้านมและมีลักษณะทางคลินิกอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1. อายุเมื่อแรกวินิจฉัยไม่เกิน 45 ปี 2. อายุเมื่อแรกวินิจฉัยระหว่าง 40-50 ปี และมีญาติใกล้ชิด อย่างน้อย 1 คน เป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งตับอ่อน ...