Now showing items 41-60 of 571

    • การจัดระบบการแพทย์ฉุกเฉินตามเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 

      สุรจิต สุนทรธรรม; Surajit Sunthorntham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      องค์ประกอบของระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ต้องมีการจัดองค์กร การรวมตัว และการประสานงาน เพื่อการดูแลผู้ป่วยให้ดีที่สุด คณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน (กพฉ.) และแพทย์ผู้อำนวยการระบบการแพทย์ฉุกเฉินต้องทำให้มั่นใจว่า องค์ประกอบที่จำเป็นแต ...
    • การจัดระบบดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตสำหรับหน่วยบริบาลปฐมภูมิ 

      สิริภา ช้างศิริกุลชัย; Siribha Changsirikulchai; มยุรี ตั้งเกียรติกำจาย; Mayuree Tangkiatkumjai; ผกาพรรณ บุญเต็ม; Phakapun Boontem (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      โรคไตเสื่อมเรื้อรัง (Chronic kidney disease, CKD) เป็นโรคที่มีความสำคัญต่อระบบสาธารณสุขของประเทศไทยและนานาชาติ เนื่องจากจำนวนผู้ป่วยที่เป็นโรคไตเรื้อรังมาก และมีการดำเนินของโรคจนเข้าสู่ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ต้องได้ร ...
    • การจัดระบบบริการสุขภาพในภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 

      อมร รอดคล้าย; Amorn Rodklai; สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ; Suwat Wiriyapongsukit; สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; Supat Hasuwankit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      เหตุการณ์ก่อการร้าย 4 มกราคม 2547 โดยเริ่มจากการปล้นปืนค่ายทหารในจังหวัดนราธิวาส เป็นจุดเริ่มต้นของความรุนแรง เกิดผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในจังหวัดนราธิวาส ปัตตานี ยะลา และบางอำเภอของจังหวัดสงขลา ความรุนแรงย ...
    • การจัดลำดับความสำคัญและจัดทำแผนงานวิจัยด้านระบบบริการสุขภาพระดับชาติ 

      ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-08-30)
      ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยยังไม่มีการกำหนดยุทธศาสตร์งานวิจัยด้านระบบบริการสุขภาพในระดับประเทศ งานวิจัยส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นโครงการย่อยเฉพาะด้าน หรือเฉพาะประเด็น ทั้งนี้เพื่อเป็นไปตามความต้องการของนักวิจัย หรือแหล่งทุนสนับสนุน ...
    • การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย โรงพยาบาลสงขลา (Palliative care service Songkhla hospital) 

      พฤกษพร ธรรมโชติ (2559-10-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ...
    • การดูแลผู้ป่วยเบาหวานของหน่วยบริการปฐมภูมิ 

      วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; Wiroj Jiamjarasrangsri; วิฑูรย์ โล่ห์สุนทร; Vitool Lohsoonthorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      รายงานการศึกษา การดูแลผู้ป่วยเบาหวานของหน่วยบริการปฐมภูมิ ศึกษาขอบเขต แนวทางการประเมินคุณภาพการดูแล ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการดูแล คุณภาพของการดูแล ทั้งสถานการณ์ในประเทศไทยและสถานการณ์ในต่างประเทศ อุปสรรคของการดูแล ...
    • การตอบสนองผู้รับบริการภายใต้ระบบประกันสุขภาพและสถานบริการที่แตกต่างกัน 

      อังสุมาลี ผลภาค; ยงยุทธ พงษ์สุภาพ; วิชัย เอกพลากร; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; รัชนี สรรเสริญ; Aungsumalee Pholpark; Yongyuth Pongsupap; Wichai Aekplakorn; Samrit Srithamrongsawat; Rachanee Sunsern (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ระบุว่า ระบบสุขภาพจะต้องส่งเสริมคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และต้องให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมและความเท่าเทียมกันในสังคม แนวคิดนี้นำไปสู่ความพยายามที่จะวัดปฏิสัมพันธ์ที่เกิ ...
    • การตอบสนองและเตรียมการของระบบบริการสุขภาพไทยต่อวิกฤติการระบาดของ COVID-19: การดำเนินการของโรงพยาบาล และผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมภายในขอบเขตของระบบสุขภาพ (รายงานฉบับย่อ) 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; นพพล วิทย์วรพงศ์; Nopphol Witvorapong; ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat; สุรีรัตน์ งามเกียรติไพศาล; Sureerat Ngamkiatphaisan; วรากร วิมุตติไชย; Varakorn Wimuttichai; ฬุฬีญา โอชารส; Luleeya O-charot; ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; Patarawan Woratanarat; อารียา จิรธนานุวัฒน์; Areeya Jirathananuwat; จตุรวิทย์ ทองเมือง; Chaturawit Thongmuang; ทักษิณา วัชรีบูรพ์; Tuksina Watchareeboon; พรหมภัสสร สุทธิโยธา; Phrompassorn Suddhiyodha; สุจิตรา วงศ์เครือศร; Sujitra Wongkruesorn; นรุตม์ชัย สุขพันธ์; Narutchai Sukpun; เอกจิตรา สุขกุล; Ake-Chittra Sukkul; นาถนภา คำลอยฟ้า; Nathnapha Khumloyfa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      โครงการวิจัยการตอบสนองและเตรียมการของระบบบริการสุขภาพไทยต่อวิกฤติการระบาดของ COVID-19: การดำเนินการของโรงพยาบาล และผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมภายในขอบเขตของระบบสุขภาพ เป็นการวิจัยในรูปแบบผสมผสาน (Mixed method) ประกอบด้วย 6 ...
    • การตอบสนองและเตรียมการของระบบบริการสุขภาพไทยต่อวิกฤติการระบาดของ COVID-19: การดำเนินการของโรงพยาบาล และผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมภายในขอบเขตของระบบสุขภาพ (รายงานฉบับสมบูรณ์) 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; นพพล วิทย์วรพงศ์; Nopphol Witvorapong; ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat; สุรีรัตน์ งามเกียรติไพศาล; Sureerat Ngamkiatphaisan; วรากร วิมุตติไชย; Varakorn Wimuttichai; ฬุฬีญา โอชารส; Luleeya O-charot; ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; Patarawan Woratanarat; อารียา จิรธนานุวัฒน์; Areeya Jirathananuwat; จตุรวิทย์ ทองเมือง; Chaturawit Thongmuang; ทักษิณา วัชรีบูรพ์; Tuksina Watchareeboon; พรหมภัสสร สุทธิโยธา; Phrompassorn Suddhiyodha; สุจิตรา วงศ์เครือศร; Sujitra Wongkruesorn; นรุตม์ชัย สุขพันธ์; Narutchai Sukpun; เอกจิตรา สุขกุล; Ake-Chittra Sukkul; นาถนภา คำลอยฟ้า; Nathnapha Khumloyfa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      โครงการวิจัยการตอบสนองและเตรียมการของระบบบริการสุขภาพไทยต่อวิกฤติการระบาดของ COVID-19: การดำเนินการของโรงพยาบาล และผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมภายในขอบเขตของระบบสุขภาพ เป็นการวิจัยในรูปแบบผสมผสาน (Mixed method) ประกอบด้วย 6 ...
    • การติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังโดยเภสัชกรชุมชน (ความดันโลหิตสูงและวัณโรคปอด) 

      พยอม สุขเอนกนันท์; Phayom Sukanaknan; อุษาศิริ ศรีสกุล; วิลาสินี หิรัญพานิช; มนสา สุนารัตน์; Usasiri Srisakul; Wilasinee Hirunphanit; Monsa Sunarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง)โดยเภสัชกรชุมชน พบว่าการมีส่วนร่วมของเภสัชกรในการติดตามดูแลผู้ป่วยในชุมชนในประเทศไทย ยังไม่เป็นบทบาทที่ชัดเจนทั้งตัวเภสัชกรเองและวิชาชีพอื่น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่ ...
    • การถอดบทเรียนการดำเนินนโยบายคนไทยทุกครอบครัว มีหมอประจำตัว 3 คน ใน 4 จังหวัดของประเทศไทย 

      ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree; ชลิดา พลอยประดับ; Chalida Ploypradub; วิชาวี พลอยส่งศรี; Wichavee Ploysongsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      นโยบายคนไทยทุกครอบครัวมีหมอประจำตัว 3 คน หรือนโยบายสามหมอ เริ่มในปี พ.ศ. 2563 โดยมุ่งเป้าให้คนไทยมีหมอดูแลสุขภาพประจำครอบครัวตั้งแต่ในหมู่บ้าน สถานีอนามัย หรือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและโรงพยาบาล ทั้งโรงพยาบาลชุมชนใน ...
    • การถอดบทเรียนเส้นทางการรับบริการสุขภาพของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ในเขตสุขภาพที่ 9 

      สุพิตรา เศลวัตนะกุล; Supitra Selavattanakul; ธิดารัตน์ คณึงเพียร; Thidarat Kanungpiarn; สมจิตต์ เวียงเพิ่ม; Somjitt Wiangperm; ชัชฎาพร จันทรสุข; Chutchadaporn Jantarasuk; ควันเทียน วงศ์จันทรา; Kuantean Wongchantra; ชลดา กิ่งมาลา; Chonlada Kingmala (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดบทเรียนเส้นทางการรับบริการสุขภาพของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโควิด–19 ในเขตสุขภาพที่ 9 โดยการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods) เริ่มต้นด้วยวิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Method) ...
    • การถ่ายทอดหลักฐานวิชาการกิจกรรมทางกายสู่นโยบายการสร้างเมืองที่กระฉับกระเฉง: การทบทวนวรรณกรรมแบบย่อ 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ หมวดที่ 11 มุ่งมั่นให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความครอบคลุม ปลอดภัย มีภูมิต้านทานและยั่งยืน เนื่องด้วยการขยายตัวของเมืองที่รวดเร็วส่งผลต่อการเพิ่มภาระโรคไม่ติดต่ออันเนื่อง ...
    • การทบทวนกระบวนทัศน์เรื่องความตายกับมิติแห่งสุขภาวะ 

      ธนา นิลชัยโกวิทย์; Tana Nilchaigowit; วริสรา กริชไกรวรรณ; วรรณา จารุสมบูรณ์; พรเลิศ ฉัตรแก้ว; Warisara Krikhaiwan; Wanna Jarusomboon; Pornlert Charkaeow (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      โครงการนี้เป็นหัวข้อหนึ่งของการศึกษาทบทวนกระบวนทัศน์สุขภาพซึ่งหยิบยกเอาประเด็นเรื่องความตายและการจัดการความตายขึ้นมาพิจารณา โดยคาดหวังว่าผลการศึกษานี้จะเป็นจุดเริ่มต้นให้ผู้คนในสังคมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหันมาทบทวนแนวค ...
    • การทบทวนบทเรียนจากต่างประเทศเพื่อเป็นองค์ความรู้ในการกำหนดกระบวนการจัดทำธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้เป็นการทบทวนเอกสารเพื่อถอดบทเรียนจากประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ ที่เกี่ยวกับการจัดทำแนวนโยบายและยุทธ์ศาสตร์เพื่อการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ วิวัฒนาการและบริบท กระบวนการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ และการประเมินผลการปฏิรูป ...
    • การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการทำ Managed Entry Agreement (MEA) 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha–oncin Sooksriwong; ปิยพัทธ์ โอวาท; Piyapat Owat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      เมื่อยาที่มีราคาแพงหรือยาใหม่ที่มีข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพของยาที่ยังไม่สมบูรณ์ออกสู่ตลาด จะมีผลกระทบต่อผู้ซื้อบริการสุขภาพในฐานะที่เป็นผู้จ่ายเงินในระบบสุขภาพ การทำข้อตกลงในรูปแบบ managed entry agreement หรือ MEA ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัย ด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตภาคใต้ 

      รวมพร คงกำเนิด; Roumporn Konggumnerd (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวกับการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในภาคใต้ของประเทศไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2544 จนถึงปัจจุบัน จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 400 เรื่อง โดยจากการสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูล Thai list ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการทำงานชุมชนท้องถิ่น 

      รวีวรรณ เผ่ากัณหา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการบริการจัดการและระบบสนับสนุนจากงานวิจัยระหว่าง พ.ศ. 2544 – 2550 ทั้งหมด 9 เรื่อง ทบทวนจากงานวิจัยที่เป็นวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโท 7 เรื่อง การศึกษาอิสระ 1 เรื่อง รายงานการศึกษา ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการบริหารจัดการและระบบสนับสนุน 

      รวีวรรณ เผ่ากัณหา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการบริการจัดการและระบบสนับสนุน จากงานวิจัยระหว่าง พ.ศ. 2544 – 2550 ทั้งหมด 50 เรื่อง ทบทวนจากงานวิจัยที่เป็นวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโท 27 เรื่อง การศึกษาอิสระ 9 เรื่อง รายงานการศึ ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตกรุงเทพมหานคร 

      ยุพา อ่อนท้วม; ประเทือง หงสรานากร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      การทบทวนสถานการณ์ระบบบริการปฐมภูมิในเขตกรุงเทพมหานครใน 5 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 เรื่องศูนย์บริการสาธารณสุขและสาขา ส่วนที่ 2 เรื่องร้านยา ส่วนที่ 3 เรื่องคลินิกเอกชน ส่วนที่ 4 เรื่ององค์การพัฒนาเอกชนที่ทำงานด้านสาธารณสุข ส่วนที่ ...