Now showing items 81-94 of 94

    • อนาคตระบบควบคุมกำกับของระบบยา ระบบเภสัชกรรม 

      ดวงทิพย์ หงษ์สมุทร; Duangtip Hongsamoot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      เอกสารนี้เป็นการวิเคราะห์ระบบควบคุมกำกับของระบบยา/ระบบเภสัชกรรมที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน โดยจะนำเสนอระบบและสถานการณ์ที่เป็นอยู่ ปัญหาของระบบ แนวโน้มและโอกาสการเปลี่ยนแปลงของระบบในอนาคต ระบบควบคุมกำกับในที่นี้มิได้จำกัดเฉพาะก ...
    • เครือข่ายวิจัยความร่วมมือในการรักษาด้วยยาเพื่อประเทศไทยใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew; อุไรวรรณ ชัยชนะวิโรจน์; Uraiwan Chaichanawirote; ปิ่นหทัย ศุภเมธาพร; Pinhatai Supametaporn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      บทนำ : โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-Communicable Diseases, NCDs) เป็นสาเหตุการป่วยและการตายที่สำคัญของประชากรทั่วโลกและประชากรไทย การรักษาในปัจจุบันผู้ป่วยส่วนใหญ่เกินครึ่งต้องกินยาตามคำสั่งการรักษาของแพทย์ เพื่อควบคุมอาการ ...
    • เครือข่ายวิจัยระบบยา 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; นุศราพร เกษสมบูรณ์; ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ์; ชนัตถา พลอยเลื่อมแสง; ศิริตรี สุทธจิตต์; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พรพิศ ศิลขวุธท์; สรชัย จำเนียรดำรงการ; ธนภร ทองศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-10)
      เอกสารฉบับนี้รวบรวมประเด็นสำคัญและข้อเสนอจากการประชุมเรื่อง “การวิจัยและพัฒนาระบบยา เพื่อการเข้าถึงยาถ้วนหน้าของประชาชนไทย” จัดโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ในวันที่ 26-27 สิงหาคม 2552 ณ. โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพมหานคร ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดรุนแรงจากยาที่เป็นสาเหตุหลักในประเทศไทย (ปีที่ 2) 

      นนทญา นาคคำ; Nontaya Nakkam; วิจิตรา ทัศนียกุล; Wichittra Tassaneeyakul; สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkao; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem; ศิริมาศ กาญจนวาศ; Sirimas Kanjanawart; ปริญญา คนยัง; Parinya Konyoung; กันยารัตน์ แข้โส; Kanyarat Khaeso (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      อาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดรุนแรงจากยา (Severe Cutaneous Adverse Drug Reactions, SCARs) จัดเป็นอาการไม่พึงประสงค์ที่มักไม่สัมพันธ์กับฤทธิ์หรือขนาดยา ซึ่งมีอันตรายรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้ โดยยาที่เป็นปัญหาสำคัญอันดับต้นๆ ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ของยา 5-ฟลูออโรยูราซิลกับผลกระทบทางคลินิกในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักไทย 

      เฉลิมพร อรรถศิลป์; Chalirmporn Atasilp; นิภาภรณ์ แสนคุณท้าว; Nipaporn Sankuntaw; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem; เอกภพ สิระชัยนันท์; Ekaphop Sirachainan; ธัญนันท์ เรืองเวทย์วัฒนา; Thanyanan Reungwetwattana; พิชัย จันทร์ศรีวงศ์; Phichai Chansriwong; อภิชญา พวงเพ็ชร์; Apichaya Puangpetch; พัชริยา พรรณศิลป์; Phatchariya Phannasil; ปฐมพงษ์ สถาพรพงษ์; Patompong Satapornpong; มนพัทธ์ ชำนาญพล; Monpat Chamnanphon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      ความสำคัญงานวิจัยชิ้นนี้คือ การเกิดความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีน Dihydropyrimidine Dehydrogenase (DPYD) มีความสัมพันธ์กับการเกิดพิษจากการใช้ยา 5-ฟลูออโรยูราซิล ร่วมกับการแสดงออกของ miRNA ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเอนไซม์ ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ของยากลุ่ม Thiopurine ในผู้ป่วยเด็กมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมโฟบลาสต์ 

      อภิชญา พวงเพ็ชร์; Apichaya Puangpetch; สามารถ ภคกษมา; Samart Pakakasama; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem; อุษณรัสมิ์ อนุรัฐพันธ์; Usanarat Anurathapan; การันต์ ไพสุขศาสนติวัฒนา; Karan Paisooksantivatana; สุภาพร วิวัฒนากุล; Supaporn Wiwattanakul; ลลิตา สาธิตสมิตพงษ์; Lalita Sathitsamitphong; อังคณา วินัยชาติศักดิ์; Angkana Winaichatsak; ปิติ เตชะวิจิตร์; Piti Techavichit; ปิยะ รุจกิจยานนท์; Piya Rujkijyanont; อาณัฐชัย ม้ายอุเทศ; Arnatchai Maiuthed; ภัทรวิทย์ รักษ์ทอง; Pattarawit Rukthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน Lymphoblastic (Acute Lymphoblastic Leukemia, ALL) เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็กที่พบบ่อยที่สุด ซึ่งได้รับการวินิจฉัยในเด็ก คิดเป็นร้อยละ 25 ของมะเร็งทั้งหมดในเด็ก การรักษาโดยทั่วไปประกอบด้วย ...
    • เอกสารสรุปประเด็นสำคัญ (Issues Paper) ระบบยา-ระบบสุขภาพ : ข้อมูลเบื้องต้นในการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง อนาคตระบบยาของคนไทยในระบบสุขภาพแห่งชาติ (พ.ศ. 2546-2555) 

      สุนันทา โอศิริ; Sunantha Osiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      เอกสารสรุปประเด็นสำคัญ (Issues Paper) ระบบยา-ระบบสุขภาพ เรื่อง อนาคตระบบยาของคนไทยในระบบสุขภาพแห่งชาติ (พ.ศ.2546-2555) ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อสรุปรวบรวมประเด็นที่สำคัญที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ จากเอกสารวิเคราะห์สถานภาพ ...
    • แนวทางการประเมินผลตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; เพชรลดา บริหาร; Phetlada Borriharn; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; ไตรเทพ ฟองทอง; Traithep Fongthong; กิตติภัค เจ็งฮั้ว; Kittipak Jenghua; บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข; Bunnasorn Techajumlernsuk; อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      แนวทางการประเมินผลตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล จัดทำขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่องการพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากสถา ...
    • แนวทางและความเป็นไปได้ในการถ่ายโอนบริการด้านยาจากโรงพยาบาลสู่ร้านยาชุมชน 

      สมหมาย อุดมวิทิต; Sommai Udomwitid; ธนา สมพรเสริม; Thana Sompornserm; พุฒิพัฒน์ ทวีวชิรพัฒน์; Puttiphat Thaweevachiraphat; ปิยะพรรณ ช่างวัฒนชัย; Piyaphan Changwatchai; วรานันต์ ตันติเวทย์; Waranan Tantiwat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-02)
      ในปัจจุบันปัญหาความแออัดของโรงพยาบาลใหญ่เริ่มมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น แนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาความแออัดของโรงพยาบาล คือ การเปิดบริการรับยาต่อเนื่องจากร้านยาคุณภาพนอกโรงพยาบาล และจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ...
    • แบบประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับประชาชนไทย (Rational Drug Use Literacy tool: RDUL) และการแปลคะแนน 

      ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12-07)
      แบบประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับประชาชนไทย (Rational Drug Use Literacy tool: RDUL) และการแปลคะแนน พัฒนาขึ้นภายใต้โครงการวิจัยการพัฒนาเครื่องมือและประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย ...
      Tags:
    • แผนงานการพัฒนาเซนเซอร์วัดคุณสมบัติทางความร้อนเพื่อใช้ทางด้านเภสัชกรรมและทางการแพทย์ - ระยะที่ 2 พัฒนาเซนเซอร์สำหรับทดสอบในกระบวนการผลิต 

      เดโช สุรางค์ศรีรัฐ; Decho Surangsrirat; อรศิริ ศรีคุณ; Onsiri Srikun; มนัญญา พวงลำเจียก; Mananya Puanglamjeak; Chana, Kam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)
      งานวิจัยนี้เป็นความร่วมมือระหว่างประเทศ ซึ่งประกอบด้วย 3 หน่วยงาน คือ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) องค์การเภสัชกรรม (อภ.) และ University of Oxford โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการนำเทคโ ...
    • โครงการสิทธิบัตรยาที่จัดเป็น evergreening patent ในประเทศไทยและการคาดประมาณผลกระทบที่เกิดขึ้น 

      อุษาวดี มาลีวงศ์; นุศราพร เกษสมบูรณ์; อัจฉรา เอกแสงศรี; สุรเดช อัศวินทรางกูล; กรรณิการ์ กิจติเวชกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-08)
      การแก้ไขพระราชบัญญัติสิทธิบัตรของไทย เพื่อให้คุ้มครองสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์ (Product patent) จากเดิมที่ให้สิทธิบัตรเฉพาะในส่วนสิทธิบัตรกรรมวิธีการผลิต (Process patent) ตามแรงกดดัน ของสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี 2535 ส่งผลกระทบใน ...