Browsing by Author "กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ"
Now showing items 1-6 of 6
-
การศึกษาความปลอดภัยและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อสายพันธุ์โอไมครอนของการฉีดวัคซีนเข็มที่ 3 ในชั้นผิวหนังและกล้ามเนื้อในผู้สูงอายุที่ได้รับวัคซีนแอสตร้าเซเนก้า 2 เข็ม
ประเสริฐ อัสสันตชัย; Prasert Assantachai; วิชัย ฉัตรธนวารี; Wichai Chatthanawaree; วีรศักดิ์ เมืองไพศาล; Weerasak Muangpaisan; สมบูรณ์ อินทลาภาพร; Somboon Intalapaporn; หฤษฎ์ ปัณณะรัส; Harisd Phannarus; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; ศันสนีย์ เสนะวงษ์; Sansnee Senawong; ปฏิมาพร วงษ์พรหมพิทักษ์; Patimaporn Wongprompitak; สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)วัคซีนโควิด-19 เข็มกระตุ้นมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงสูงหากมีการติดเชื้อโควิด-19 เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ จากการศึกษาพบว่า การฉีดวัคซีนเข้าชั้นผิวหนังมีประสิทธิภาพเทียบเท่าการฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ... -
การศึกษาความปลอดภัยและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังการได้รับวัคซีนโควิด-19 ด้วยการฉีดเข้าในผิวหนัง เพื่อประโยชน์สูงสุดในการบริหารจัดการวัคซีน
สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; สมฤดี ฉัตรสิริเจริญกุล; Somruedee Chatsiricharoenkul; ศันสนีย์ เสนะวงษ์; Sansnee Senawong; ปฏิมาพร วงษ์พรหมพิทักษ์; Patimaporn Wongprompitak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)หลักการและเหตุผล: เนื่องด้วยประเทศไทยมีการระบาดโรคโควิด-19 หลายระลอก เป็นเหตุให้การนำเข้าวัคซีนโควิด-19 ในช่วงแรกไม่เพียงพอต่อการกระจายวัคซีนให้กับประชากร ดังนั้น การให้วัคซีนด้วยการฉีดเข้าชั้นผิวหนัง (Intradermal: ID) ... -
การใช้ยาฟาวิพิราเวียร์เทียบกับการรักษาแบบประคับประคองในผู้ป่วยโควิด 19 ที่มีอาการไม่หนักและยังไม่มีภาวะปอดอักเสบ
รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; ยุพิน ศุพุทธมงคล; Yupin Suputtamongkol; ยงค์ รงค์รุ่งเรือง; Yong Rongrungruang; เมธี ชยะกุลคีรี; Methee Chayakulkeeree; ณสิกาญจน์ อังคเศกวินัย; Nasikarn Angkasekwinai; โกวิท พัฒนาปัญญาสัตย์; Kovit Pattanapanyasat; จตุรงค์ เสวตานนท์; Jaturong Sewatanon; สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham; สุสัณห์ อาศนะเสน; Susan Assanasen; กษมา สุขาภิรมย์; Kasama Sukapirom; มาโนช รัตนสมปัตติกุล; Manoch Rattanasompattikul; กนก วงศ์สวัสดิ์; Kanok Wongsawad; วีรวัฒน์ มโนสุทธิ; Weerawat Manosuthi; ลัลธริตา เจริญพงษ์; Lantharita Charoenpong; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; Nuanjun Wichukchinda; อิงอร ประสารชัยมนตรี; Ing-orn Prasanchaimontri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)ยาฟาวิพิราเวียร์ เป็นยาต้านที่มีกลไกออกฤทธิ์ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ RNA-dependent RNA polymerase และน่าจะมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อโควิด-19 ได้ เนื่องด้วยในสถานการณ์การระบาดของเชื้อมีความเป็นไปได้ว่าจะพบผู้ติดเชื้อมากขึ้นเรื่อยๆ ... -
ความชุกและอุบัติการณ์ของการติดเชื้อด้วยการตรวจทางซีโรโลยีและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อ SARS-CoV-2 ในบุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้าที่ดูแลผู้ป่วย เปรียบเทียบกับบุคลากรทางการแพทย์ที่ไม่ได้ดูแลผู้ป่วย COVID-19 ในสถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 ภายในโรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร
ณสิกาญจน์ อังคเศกวินัย; Nasikarn Angkasekwinai; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; อรศรี วิทวัสมงคล; Orasri Wittawatmongkol; จตุรงค์ เสวตานนท์; Jaturong Sewatanon; โกวิท พัฒนาปัญญาสัตย์; Kovit Pattanapanyasat; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; วินัย รัตนสุวรรณ; Winai Ratanasuwan; สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)หลักการและเหตุผล บุคลากรทางการแพทย์ที่ทำงานด่านหน้า เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงที่มีโอกาสติดเชื้อโควิด ทำให้มีโอกาสต้องตรวจสวอปบ่อยครั้ง การตรวจด้วยวิธีทางซีโรโลยี ทำได้ง่ายและสามารถใช้ในการเฝ้าระวังได้ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสง ... -
ความปลอดภัยและผลการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังการได้รับวัคซีนโควิด 19 ด้วยการฉีดเข้าในผิวหนัง ในอาสาสมัครที่ได้รับวัคซีนเข็มแรก และที่ได้รับวัคซีนกระตุ้น
สมฤดี ฉัตรสิริเจริญกุล; Somruedee Chatsiricharoenkul; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; ศันสนีย์ เสนะวงษ์; Sansnee Senawong; สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)เนื่องด้วยพบการระบาดในประเทศไทยในหลายระลอก การนำเข้าวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ในช่วงแรกไม่เพียงพอต่อการกระจายวัคซีนไปยังประชากรทั่วประเทศ การให้วัคซีนด้วยการฉีดเข้าในชั้นผิวหนังจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ซึ่งนอกจากจะใช้วัคซี ... -
อุบัติการณ์การติดเชื้อไวรัสซิกาในผู้ป่วยที่สงสัยไข้เดงกี่ (ผลการรายงานเบื้องต้น)
จุไร วงศ์สวัสดิ์; Jurai Wongsawat; ปฐมา สุทธา; Patama Suttha; สุมนมาลย์ อุทยมกุล; Sumonmal Utayamakul; สุมาลี ชะนะมา; Sumalee Chanama; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)บทนำ การติดเชื้อไวรัสซิกาที่เกี่ยวข้องกับโอกาสการเกิดภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิด เป็นโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่ทั่วโลกให้ความสำคัญในช่วงทศวรรษนี้ เชื้อซิกาเป็นเชื้อไวรัสในกลุ่มฟลาวิไวรัสเช่นเดียวกับเชื้อไวรัสเดงกี่ และมีอาการทางค ...