Now showing items 1-3 of 3

    • การประเมินความเป็นไปได้และความคุ้มค่าในการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ผ่านสายด่วนตั้งครรภ์ไม่พร้อม ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; ภิชารีย์ กรุณายาวงศ์; Picharee Karunayawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; มันตา กรกฎ; Manta Korakot; อธิพร เรืองทวีป; Atiporn Rueangthaweep; นภดล พิมสาร; Nopphadol Pimsarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-08)
      การยุติการตั้งครรภ์ หรือการทำแท้งในประเทศไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2554-2563 มีสัดส่วนเพิ่มสูงขึ้น โดยปัจจัยสำคัญของการยุติการตั้งครรภ์ คือ สภาพเศรษฐกิจและสังคม และปัจจัยด้านสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งหน่วยงานภาครัฐได้มีการพัฒนาร ...
      Tags:
    • การศึกษาประเด็นท้าทายเพื่อพัฒนากรอบการติดตามและการประเมินผลของนโยบายวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ฉัตรกมล พีรปัญญาวรานันท์; Chatkamol Pheerapanyawaranun; กานต์ชนก ศิริสอน; Kanchanok Sirison; นภดล พิมสาร; Nopphadol Pimsarn; ณชวิศ กิตติบวรดิฐ; Nachawish Kittidovorndit; บงกช เกอเค่; Bongkoch Goeke; KC, Sarin; Dabak, Saudamini Vishwanath (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      วัคซีนโควิด-19 ถือเป็นมาตรการที่เป็นความหวังอันสำคัญในการควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคอย่างยั่งยืน และส่งผลทางอ้อมให้ภาครัฐสามารถผ่อนปรนมาตรการอื่นๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ ฉะนั้น ...
    • การศึกษาเพื่อพัฒนามาตรการกักตัวสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สัมผัสผู้ติดเชื้อโควิด-19 

      ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; นภดล พิมสาร; Nopphadol Pimsarn; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; แพรวา กุลัตถ์นาม; Praewa Kulatnam; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; วริษฐา แสวงดี; Waritta Sawaengdee; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; Nuanjun Wichukchinda; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ณัฐปราง นิตยสุทธิ์; Natthaprang Nittayasoot; วราภรณ์ เทียนทอง; Varaporn Thienthong; สุทัศน์ โชตนะพันธ์; Suthat Chottanapund; พิไลลักษณ์ อัคคไพบูลย์ โอกาดะ; Pilailuk Akkapaiboon Okada; จักรรัฐ พิทยาวงศ์อานนท์; Chakrarat Pittayawonganon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      ความเป็นมา: บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขถือได้ว่าเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด-19 ในระหว่างปฏิบัติงาน โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรคในวงกว้าง เมื่อบุคลากรทางการแพ ...