Browsing by Author "วิทธวัช พันธุมงคล"
Now showing items 1-10 of 10
-
การประเมินการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับกองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุธีนุช ตั้งสถิตย์กุลชัย; Suteenoot Tangsathitkulchai; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; เพียร เพลินบรรณกิจ; Pien Pleonbannakit; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)การศึกษานี้สนใจศึกษางบประมาณ 4 ส่วนที่เกิดจากวิธีการจัดสรรของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้แก่ งบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อเร่งรัดการเข้าถึงบริการ เพื่อชุดสิทธิประโยชน์ เพื่อการดำเนินงานในชุมชน ... -
การประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของบริการตรวจเพทซีทีในประเทศไทย
วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ณัฐกานต์ บุตราช; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; จักรมีเดช เศรษฐนันท์; Chakmeedaj Sethanandha; ชนิสา โชติพานิช; Chanisa Chotipanich; เจษฎาพร พร้อมเที่ยงตรง; Chetsadaporn Promteangtong; อัญชิสา คุณาวุฒิ; Anchisa Kunawudhi; ดริส ธีระกุลพิศุทธิ์; Daris Theerakulpisut; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอโครงการประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของบริการตรวจเพทซีทีในประเทศไทย ซึ่งผ่านการมีส่วนร่วมจากหลายฝ่าย ทบทวนและอ้างอิงหลักฐานทางวิชาการ โดยมีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดยผู้ท ... -
การวิเคราะห์การเข้าถึงยาบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชียา จ(2)
ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittirachakool; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)การเข้าถึงยา (access to medicine) ถือเป็นกุญแจสำคัญที่บ่งบอกความสำเร็จของระบบสาธารณสุขในประเทศนั้นๆ จากรายงานของ World Health Organization (WHO) ในปี 2004 ชี้ให้เห็นตัวเลข 1 ใน 3 ของประชากรของโลกยังไม่สามารถเข้าถึงยาที่ม ... -
การสังเคราะห์หลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ของการให้บริการบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยวิกฤตที่มีภาวะไตวายเฉียบพลันในประเทศไทย
วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; จิราธร สุตะวงศ์; Jiratorn Sutawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; ณัฐชัย ศรีสวัสดิ์; Nattachai Srisawat; อาทร ริ้วไพบูลย์; Arthorn Riewpaiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)ไตวายเฉียบพลันเป็นภาวะที่ไตเกิดการสูญเสียการทำงานลงในช่วงเวลาเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน หากรักษาด้วยยาไม่หาย การบำบัดทดแทนไตจึงเข้ามามีบทบาทสำคัญเพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่รอดได้ ซึ่งการบำบัดทดแทนไตในปัจจุบันมีอยู่ด้วยกัน 4 ... -
การใช้เครื่องช่วยฟังของคนพิการทางการได้ยินสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงระบบการให้บริการเครื่องช่วยฟัง
สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; อรพรรณ โพธิหัง; Orapan Photihang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)คนพิการทางการได้ยินสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สามารถขอรับบริการเครื่องช่วยฟังได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด การศึกษาเชิงสำรวจภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การใช้เครื่องช่วยฟังในกลุ่มคนพิ ... -
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยฟังของคนพิการทางการได้ยินในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; อรพรรณ โพธิหัง; Orapan Photihang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)การใส่เครื่องช่วยฟังเป็นวิธีการที่ช่วยให้ผู้สูญเสียการได้ยินสามารถฟังและสื่อสารได้ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินชีวิตประจำวัน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้งานเครื่องช่วยฟัง ด้วยการวิเครา ... -
ผลการดำเนินงานและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคัดเลือกยาเข้าสู่บัญชี จ(2) ของบัญชียาหลักแห่งชาติ
ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakul; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich; ชนิดา เอกอัครรุ่งโรจน์; Chanida Ekakkararungroj (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)บัญชี จ(2) เป็นบัญชีย่อยที่เพิ่มเข้าสู่บัญชียาหลักแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีความจำเป็นเฉพาะสามารถเข้าถึงยาราคาแพงได้อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมในทุกสิทธิการรักษา โดยมีคณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่ง ... -
รูปแบบการจ่ายค่าบริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคกับผลกระทบต่อพฤติกรรมของผู้ให้บริการ
จิตติ วิสัยพรม; Jitti Wisaiprom; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้จัดตั้งกองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (กองทุน P&P) โดยมีเป้าหมายเพื่อบริหารงบประมาณสำหรับการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ทั้งนี้ การดำเนินงานด้าน P&P ตั้งแต่อดีตจนถึงป ... -
รูปแบบการรักษาและประสิทธิผลของการใช้ยาทราสทูซูแมบในการรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะเริ่มต้น: การวิเคราะห์ข้อมูลจากสถานการณ์จริง
วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; ชนิดา เอกอัครรุ่งโรจน์; Chanida Ekakkararungroj; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)การศึกษานี้เป็นการศึกษาย้อนหลัง (retrospective study) โดยใช้ข้อมูลจากสถานการณ์จริงเพื่อวิเคราะห์รูปแบบการรักษาเปรียบเทียบกับแนวทางกำกับการใช้ยาบัญชี จ(2) ตลอดจนประสิทธิผลของการรักษาผู้ป่วยเปรียบเทียบกับประสิทธิศักย์ที่ได ... -
รูปแบบการรักษาและประสิทธิผลของการใช้ยายับยั้งไทโรซีนไคเนสในการรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรังแบบมัยอีลอยด์: การวิเคราะห์ข้อมูลจากสถานการณ์จริง
จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; ชนิดา เอกอัครรุ่งโรจน์; Chanida Ekakkararungroj; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)การศึกษานี้เป็นการศึกษาย้อนหลัง (retrospective cohort study) มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการรักษาของการใช้ยายับยั้งไทโรซีนไคเนส (tyrosine kinase inhibitors) โดยใช้ข้อมูลจากสถานการณ์จริง และนำมาเปรียบเทียบกับแนวทางก ...