Now showing items 1-15 of 15

    • การรวบรวมองค์ความรู้และถอดบทเรียนรูปแบบการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับพื้นที่ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; พินทุสร เหมพิสุทธิ์; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; อังสุมาลี ผลภาค; อาณัติ วรรณศรี; วรรณภา บำรุงเขต; Paiboon Suriyawongpaisarn; Samrit Srithamrongsawat; Pintusorn Hempisut; Boonyawee Aueasiriwon; Aungsumalee Pholpark; Arnat Wannasri; Wannapha Bamrungkhet (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2556-06-01)
      รายงานนี้มุ่งหมายรวบรวมองค์ความรู้และถอดบทเรียนการดำเนินงานการแพทย์ฉุกเฉินของกลไกหลักในพื้นที่ที่มีสมรรถนะการดำเนินงานที่ดี เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนวทางการดำเนินงานของกลไกหลักในระดับจังหวัดและท้องถิ่น เพื่อเพิ่มสมรรถนะการดำเ ...
    • การวิจัยประเมินคุณภาพระบบการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล ในบริบทการกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; พงศกร อธิกเศวตพฤทธิ์; Pongsakorn Atiksawedparit; ภาณุวิชญ์ แก้วกำจรชัย; Phanuwich Kaewkamjonchai; พีรสิชฌ์ สิทธิรัตน์; Peerasit Sitthirat; ปวินท์ ศรีวิเชียร; Pawin Sriwichian; มนสิชา หวังพิพัฒน์วงศ์; Monsicha Wangpipatwong; พิวัฒน์ ศุภวิทยา; Piwat Suppawittaya; พีรภาส สุขกระสานติ; Peerapass Sukkrasanti; จิณณ์ รัชโน; Jin Rushchano; แคเรน เอ็ม ทัม; Karen M Tam (คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, 2567-09)
      ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 วิวัฒนาการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของไทยเกิดการริเริ่มในทิศทางที่สอดคล้องกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นอีกขั้นหนึ่ง ด้วยการถ่ายโอนศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการการแพทย์ฉุกเฉินจากโรงพยาบาลไปยังองค์การบริหาร ...
    • การศึกษาเพื่อการพัฒนาการจัดการระบบบริการสุขภาพในระดับเขต 

      จิระวัฒน์ ปั้นเปี่ยมรัษฎ์; Jirawat Panpiemras; บุญวรา สุมะโน; Boonwara Sumano; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; เพ็ญประภา ศิวิโรจน์; Penprapa Siviroj; ยุทธพงศ์ วงศ์สวัสดิวัฒน์; Yuttapong Wongswadiwat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasit Sornsrivichai; พยอม ถิ่นอ่วน; Payom Tin-uan; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-02)
      นโยบายเขตบริการสุขภาพ ซึ่งเริ่มดำเนินการเมื่อ พ.ศ. 2555 นับเป็นอีกก้าวแห่งความพยายามพัฒนาระบบบริการสุขภาพในขอบเขตความรับผิดชอบของกระทรวงสาธารณสุข ภายหลังความพยายามซึ่งมีมาเป็นระลอก ดังตัวอย่างนโยบายพัฒนาบริการสาธารณสุข ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาระบบเพื่อป้องกันอุบัติเหตุจราจร ด้วยมาตรการเชิงเทคโนโลยีสารสนเทศ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03-11)
      เพื่อ สังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาระบบเพื่อป้องกันอุบัติเหตุจราจรโดยใช้มาตรการเชิงเทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานนี้ ทบทวนและวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยและงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันอุบัติเหตุจราจรโดยใช้มาต ...
    • คู่มือการดำเนินงานโรงพยาบาลในกำกับของรัฐ 

      ศรีราชา เจริญพานิช; Sriracha Charoenparij; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; สุธรรม ปิ่นเจริญ; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Somsak Chunharas; Daniel Kraushaar; Sutham Pinjaroen; Paiboon Suriyawongpaisarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      คู่มือการดำเนินงานโรงพยาบาลในกำกับของรัฐ การพัฒนาด้านการสื่อสาร ลดความซับซ้อนของการบริหารจัดการ ส่งเสริมประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการบริหารจัดการโรงพยาบาล การเป็นที่พึ่งของประชาชน พัฒนาการจัดสรรทรัพยากร และการพัฒนาองค์ความรู้ ...
    • งานวิจัยเขตสุขภาพ ปรับชีวิตคนในเขตให้เปลี่ยนได้อย่างไร 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn (คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี, 2557-09-05)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • ติดตามประเมินผลนโยบายทีมหมอครอบครัว 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; สุภา เพ่งพิศ; Supa Pengpid; สมชาย วิริดิรมย์กุล; นภาพร วาณิชย์กุล; Napaporn Wanitkun; สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์; Suchada Pattaramongkolrit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-11)
      นโยบายทีมหมอครอบครัวอุบัติขึ้นท่ามกลางสายธารใหญ่อันยาวไกลแห่งการพัฒนาระบบย่อยอย่างน้อยสองระบบในระบบบริการสุขภาพไทย หนึ่งคือ ระบบบริการปฐมภูมิ ซึ่งมักนิยมเข้าใจกันว่า ไม่ใช่บริการเฉพาะโรค/เฉพาะทาง โดยมักเกิดขึ้นใกล้บ้าน ...
    • ผลการประเมินนโยบายการลดความเหลื่อมล้ำในระบบการแพทย์ฉุกเฉินของ 3 กองทุนประกันสุขภาพ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn (มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี, 2556-04-25)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจำปี 2556 การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม วันที่ 25-26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
    • พลังกลมเกลียว ณ ตำบลบ้านใหม่ อำเภอพระนครศรีอยุธยา 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)
    • พลังของ CNN ในความปลอดภัยของคนไข้ด้านยา 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; รุ่งทิวา หมื่นปา; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อำนวย พฤกษ์ภาคภูมิ; เชาวรัตน์ มั่นพรหม; Paiboon Suriyawongpaisarn; Rungtiwa Hmuenpha; Napawan Jeanpeerapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
    • มาตรการทางกฎหมายเพื่อถนนปลอดภัย : เอกสารทบทวนความรู้ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      มาตรการทางกฎหมายเพื่อถนนปลอดภัย กฎหมายเป็นเครื่องมือที่สำคัญต่อการป้องกันอุบัติเหตุทางรถยนต์ ด้วยการควบคุมพฤติกรรมผู้ใช้ถนนและการจัดสรรทรัพยากรของรัฐเพื่อการดำเนินกิจกรรม กฏหมายนอกจากใช้ควบคุมพฤติกรรมผู้ใช้ยานพาหนะแล้วยั ...
    • มาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผลในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการของโรงพยาบาล 34 แห่ง สำหรับยา 9 กลุ่มที่มีค่าใช้จ่ายสูง 

      ภาสกร สวนเรือง; Passakorn Suanrueang; อัจฉราวรรณ โตภาคงาม; Acharawan Topark-ngarm; สุมนต์ สกลไชย; Sumon Sakolchai; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ค่าใช้จ่ายด้านยาในระบบจ่ายตรงของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ มีแนวโน้มเพิ่มสูงมาก การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจมาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผล และการควบคุมค่าใช้จ่ายที่มีการดำเนินการในโรงพยาบาล 34 แห่งสำหรับยา ...
    • สถานการณ์ของการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; ซำแก้ว หวานวารี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2538)
      สถานการณ์ของการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถนับตั้งแต่ พระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ มีผลบังคับ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2535 ยังไม่มีการประเมินอย่างเป็นระบบว่า เจตนารมย์ของกฏหมายนี้ได้รับการตอบสนองจากผู้เกี่ยวข้องเพียงใด ...
    • สังเคราะห์นโยบายสาธารณะ พรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร; Amarint Takinsthira; วิชุดา โค้วธนพานิช; Wichuda Kowthanapanich; ไท ชาญกล; Tai Chankol; ชัชวาล สิมะสกุล; Chachawal Simasakul; ปาริชาติ พัฒนะเมฆา; Parichart Patanameka (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      รายงานนี้มุ่งหมายเพื่อเสนอผลการประเมินสถานภาพปัจจุบันของการดำเนินการตาม พรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 และเสนอแนะทางเลือกเชิงนโยบายเพื่อยกระดับการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ การศึกษาดำเนินโดยรวบรวมรายงานการวิจัยและเ ...
    • สังเคราะห์ภาพรวมของปัญหาและทางเลือกในการแก้ไขอุบัติเหตุจรจร 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      สังเคราะห์ภาพรวมของปัญหาและทางเลือกในการแก้ไขอุบัติเหตุจราจรการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมวลสถานการณ์และแนวโน้มอุบัติเหตุจราจรของประเทศไทยประมวลและสังเคราะห์องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาอุบัติเหตุจราจรสังเคร ...