Now showing items 1-18 of 18

    • การพัฒนากลไกสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ระยะที่ 1 

      นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; นุชรินธ์ โตมาชา; Nucharin Tomacha; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)
      การใช้ยาไม่สมเหตุผล ทั้งในสถานพยาบาลรัฐและเอกชน รวมถึงการซื้อยากินเองจากแหล่งกระจายยาไม่เหมาะสมเป็นปัญหาของประเทศไทยที่มีมาอย่างยาวนานกว่า 4 ทศวรรษ ต่อมามีความพยายามในการแก้ไขปัญหา โดยมีการพัฒนาเริ่มจากโรงพยาบาลส่งเสริมก ...
    • การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนของประเทศไทย 

      อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; เพชรลดา บริหาร; Phetlada Borriharn; นิภาพร เอื้อวัณณะโชติมา; Nipaporn Urwannachotima; วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนของประเทศไทย โดยมีรูปแบบการศึกษา 4 ขั้นตอน ดังนี้ (1) การทบทวนวรรณกรรมจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (Document ...
    • การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; เพชรลดา บริหาร; Phetlada Borriharn; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; ไตรเทพ ฟองทอง; Traithep Fongthong; กิตติภัค เจ็งฮั้ว; Kittipak Jenghua; บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข; Bunnasorn Techajumlernsuk; อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ที่มาและความสำคัญ: ประเทศไทยมีการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์และการดำเนินการเพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลมาอย่างต่อเนื่อง จากการมีนโยบายการพัฒนาสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ซึ่งประกาศใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา ...
    • การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อรองรับตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์; Isareethaika Jayasvasti; ไตรเทพ ฟองทอง; Traithep Fongthong; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; ทอง บุญยศ; Thong Boonyot; ประเสริฐ อาปัจชิง; Prasert Apadsing (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อรองรับตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบโครงสร้างฐานข้อมูลเพื่อใช้สำหรับตอบตัวชี้วัดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาสมเหตุผลในทุกระดับ มีการดำเนินการ 3 ส่วน ได้แก่ 1) ...
    • การพัฒนารูปแบบการดูแลเด็กโรคสมาธิสั้นแบบบูรณาการระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ปกครอง และครู (ปีที่ 2) 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; รัชนี ฉลองเกื้อกูล; Rachanee Chalongkuakul; มธุรดา สุวรรณโพธิ์; Mathurada Suwannapho; วิมลรัตน์ วันเพ็ญ; Wimonrat Wanpen; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      การบูรณาการการดูแลระหว่างผู้ปกครองครูและผู้ให้บริการด้านการดูแลสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการรักษาเด็กที่มีภาวะซนสมาธิสั้นให้ประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตาม ผู้ปกครอง ครูและผู้ให้บริการทางการแพทย์มีแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกี่ยวข้ ...
    • การพัฒนารูปแบบการดูแลเด็กโรคสมาธิสั้นแบบบูรณาการระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ปกครอง และครู ในเขตภาคเหนือ 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; สกนธ์ สุภากุล; Sakon Supakul; กชพงศ์ สารการ; Kotchapong Sarakan; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      ที่มาและความสำคัญ โรคสมาธิสั้นเป็นมีความชุกมากที่สุดเมื่อเทียบกับโรคทางสุขภาพจิตอื่นๆ ในเด็กวัยประถมศึกษา การดูแลร่วมกันระหว่างผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการแพทย์มีความจำเป็นอย่างยิ่ง ในการลดความรุนแรงของอาการและปัญหาเชิง ...
    • การพัฒนาเครื่องมือและประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย 

      ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      การวิจัยนี้เป็นการประเมินระดับความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย (Rational Drug Use Literacy, RDUL) แบ่งการดำเนินการออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนาเครื่องมือวัดความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDUL ...
    • การวิจัยเพื่อพัฒนาการนำเกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาไปสู่การปฏิบัติในโรงพยาบาลของรัฐ 

      สุนทรี ท. ชัยสัมฤทธิ์โชค; Suntharee T. Chaisumritchoke; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; กรแก้ว จันทภาษา; Kornkaew Chantapasa; ศิราณี ยงประเดิม; Siranee Yongpraderm; นุชรินธ์ โตมาชา; Nucharin Tomacha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ในปัจจุบัน เป็นที่ยอมรับกันอย่างชัดเจนทั่วโลกแล้วว่าการส่งเสริมการขายยามีส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดการสั่งจ่ายยาที่ไม่สมเหตุผล ส่งผลทำให้เกิดปัญหาการบริโภคยาเกินจำเป็น บริโภคยาราคาแพงเกินควรทั้งในประเทศกำลังพัฒนาและประเทศที่พัฒนาแล้ว ...
    • การสังเคราะห์ช่องว่างทางความรู้ด้านเชื้อดื้อยาในคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย 

      วสันต์ กาติ๊บ; Wasan Katip; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; ดวงพร พิชผล; Duangporn Pichpol; ทองกร มีแย้ม; Tongkorn Meeyam; อุษณีย์ อนุกูล; Usanee Anukool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      ยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial Medicines) โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาต้านจุลชีพที่มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการแพทย์และการสาธารณสุข เนื่องจากใช้เพื่อป้องกันและรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ...
    • คู่มือการคัดกรองและปรับพฤติกรรมเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นสำหรับผู้ปกครอง 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; กชพงศ์ สารการ; Kotchapong Sarakan; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      โรคสมาธิสั้นเป็นโรคที่เด็กมีความผิดปกติที่สำคัญ 3 ด้าน คือ อาการขาดสมาธิ พฤติกรรมหุนหันพลันแล่น และอยู่ไม่นิ่งหรือซนผิดปกติการปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ไม่ดี ซึ่งทำให้เกิดปัญหาระหว่างผู้ปกครองกับเด็กได้ ปัญหาที่เกิดจากโรคส ...
    • คู่มือการจัดการชั้นเรียนและเทคนิคการสอนเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นที่มีปัญหาการเรียน 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      โรคสมาธิสั้นพบได้ร้อยละ 5-10 ของประชากรทั่วไป หากแต่ในแต่ละชั้นเรียนที่มีเด็ก 40-50 คน อาจมีเด็กสมาธิสั้นรวมอยู่ด้วย 2 คน โรคสมาธิสั้นเริ่มสังเกตอาการได้ในวัยเรียน ดังนั้น ครูจึงมีบทบาทสำคัญที่จะช่วยเหลือเด็กสมาธิสั้น ...
    • คู่มือการรักษาด้วยยาในเด็กสมาธิสั้นและการติดตามการตอบสนองต่อยาของเด็ก 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำคู่มือการรักษาด้วยยาในเด็กสมาธิสั้นและการติดตามการตอบสนองต่อยาของเด็ก เพื่อให้ครูโรงเรียนประถมศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับยาที่ใช้รักษาโรคสมาธิสั้น ทั้งด้านผล ...
    • คู่มือความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมาธิสั้นและบทบาทของครูในการดูแลเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำคู่มือความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมาธิสั้น และบทบาทของครูในการดูแลเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น เพื่อให้ครูโรงเรียนประถมศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมาธิสั้นเน ...
    • คู่มือเทคนิคและกระบวนการปรับพฤติกรรมเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นที่โรงเรียน 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำคู่มือเทคนิคและกระบวนการปรับพฤติกรรมเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นที่โรงเรียน เพื่อให้ครูสามารถจัดการปัญหาพฤติกรรมทางอารมณ์และฝึกทักษะการควบคุมอารมณ์เด็กสมาธิสั้นที่โรงเรียน ...
    • หลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์ในการวินิจฉัย รักษา และดูแลเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น ปีที่ 1 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; สกนธ์ สุภากุล; Sakon Supakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์ในการวินิจฉัย รักษา และดูแลเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ที่รับผิดชอบงานสุขภาพจิตมีความรู้ ทักษะ และสามารถดูแล ...
    • หลักสูตรฝึกอบรมสำหรับครูโรงเรียนแกนนำร่วมประถมศึกษาในการดูแลปรับพฤติกรรม และส่งเสริมการเรียนรู้ในเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น ปีที่ 1 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำหลักสูตรฝึกอบรมสำหรับครูโรงเรียนแกนนำเรียนร่วมประถมศึกษาในการดูแล ปรับพฤติกรรม และส่งเสริมการเรียนรู้ในเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นเพื่อให้ครูโรงเรียนแกนนำเรียนร่วมใช้สำหร ...
    • แนวทางการประเมินผลตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; เพชรลดา บริหาร; Phetlada Borriharn; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; ไตรเทพ ฟองทอง; Traithep Fongthong; กิตติภัค เจ็งฮั้ว; Kittipak Jenghua; บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข; Bunnasorn Techajumlernsuk; อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      แนวทางการประเมินผลตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล จัดทำขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่องการพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากสถา ...
    • แบบประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับประชาชนไทย (Rational Drug Use Literacy tool: RDUL) และการแปลคะแนน 

      ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12-07)
      แบบประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับประชาชนไทย (Rational Drug Use Literacy tool: RDUL) และการแปลคะแนน พัฒนาขึ้นภายใต้โครงการวิจัยการพัฒนาเครื่องมือและประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย ...
      Tags: