Browsing by Author "Samrit Srithamrongsawat"
Now showing items 1-20 of 27
-
The Last Mile of UHC in Thailand, Do We Reach the Vulnerable.
พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์; Peerapol Sutiwisesak; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; จเร วิชาไทย; Charay Vichathai; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; Boonyawee Aueasiriwon; อาณัติ วรรณศรี; Arnat Wannasri; อุทุมพร วงษ์ศิลป์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-30)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมในหัวข้อ The last mile of UHC in Thailand, “Do we reach the vulnerable?” ในงานประชุมวิชาการนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจำปี 2560 วันที่ 30 มกราคม 2560 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอน ... -
กรณีศึกษาเปรียบเทียบระบบดูแลผู้ป่วยภาวะไตวายเรื้อรัง อำเภอคลองขลุง จ.กำแพงเพชร และ อำเภอกงหรา จ.พัทลุง
ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; เกศทิพย์ บัวแก้ว; Kadethip Buakaew; สุดา ขำนุรักษ์; Suda Khumnurak; กวิน กลับคุณ; Kavin Klubkun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-12)การขยายชุดสิทธิประโยชน์ความคุ้มครองแก่ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตั้งแต่ พ.ศ. 2550 เป็นต้นมานั้น มีผู้ป่วยเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในขณะที่ความไม่เท่าเทียมในการเข้าถึงบริการทด ... -
การจ่ายค่าตอบแทนบุคลากรทางการแพทย์ : ประเด็นข้อขัดแย้ง
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ถาวร สกุลพาณิชย์; Samrit Srithamrongsawat; Thaworn Sakunphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03) -
การจ่ายค่าบริการตามระบบกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมของประเทศไทยและต่างประเทศ
อาณัติ วรรณศรี; Arnat Wannasri; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)การศึกษานี้เป็นการทบทวนวรรณกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ระบบกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (Diagnosis Related Group: DRG) ซึ่งเป็นระบบแบ่งกลุ่มผู้ป่วยแบบเฉียบพลัน พัฒนาโดย Robert Fetter และคณะ ที่มหาวิทยาลัยเยล ... -
การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของผู้ช่วยเหลือในชุมชน ภายใต้นโยบายการพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ภาสกร สวนเรือง; Passakorn Suanrueang; อาณัติ วรรณศรี; Arnat Wannasri; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ (caregiver) และกระบวนการในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน หลังการมีนโยบายการพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ... -
การตอบสนองผู้รับบริการภายใต้ระบบประกันสุขภาพและสถานบริการที่แตกต่างกัน
อังสุมาลี ผลภาค; ยงยุทธ พงษ์สุภาพ; วิชัย เอกพลากร; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; รัชนี สรรเสริญ; Aungsumalee Pholpark; Yongyuth Pongsupap; Wichai Aekplakorn; Samrit Srithamrongsawat; Rachanee Sunsern (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ระบุว่า ระบบสุขภาพจะต้องส่งเสริมคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และต้องให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมและความเท่าเทียมกันในสังคม แนวคิดนี้นำไปสู่ความพยายามที่จะวัดปฏิสัมพันธ์ที่เกิ ... -
การประเมินตนเองของหน่วยบริการปฐมภูมิในการจัดบริการแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางสำหรับผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Srisornvichai; สันติ ลาภเบญจกุล; Santi Lapbenjakul; ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)ภูมิหลังและเหตุผล โครงการวิจัยพัฒนารูปแบบการจัดบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางได้พัฒนาแนวทางการจัดบริการสำหรับผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงและนำร่องการดำเนินการในคลินิกหมอครอบครัว (primary care cluster: ... -
การประเมินนโยบายผ่าตัดแบบนัดหมายล่วงหน้าในโรงพยาบาลเอกชน ภายใต้ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; นพคุณ ธรรมธัชอารี; พัชนี ธรรมวันนา; สุธีรดา ฉิมน้อย; สิรินาฏ นิภาพร; พัฒนาวิไล อินใหม; ณัฐธิดา สุขเรืองรอง; Samrit Srithamrongsawat (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-04-01)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการ แนวทางหรือรูปแบบการจัดกลไกกลางของระบบประกันสุขภาพในต่างประเทศในการจัดระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าใช้จ่ายสูง นโยบายและการพัฒนาแนวทางหรือรูปแบบการจัดกลไกของระบบหลักประกัน ... -
การประเมินผลเบื้องต้น: ประสบการณ์การได้รับการดูแลแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Srisornvichai; สันติ ลาภเบญจกุล; Santi Lapbenjakul; ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)โครงการวิจัยดำเนินการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ได้นำร่องการปรับรูปแบบและกระบวนการจัดบริการของเครือข่ายบริการปฐมภูมิหรือคลินิกหมอครอบครัว (primary care cluster: PCC) จำนวน 20 แห่งในการดูแ ... -
การรวบรวมองค์ความรู้และถอดบทเรียนรูปแบบการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับพื้นที่
ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; พินทุสร เหมพิสุทธิ์; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; อังสุมาลี ผลภาค; อาณัติ วรรณศรี; วรรณภา บำรุงเขต; Paiboon Suriyawongpaisarn; Samrit Srithamrongsawat; Pintusorn Hempisut; Boonyawee Aueasiriwon; Aungsumalee Pholpark; Arnat Wannasri; Wannapha Bamrungkhet (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2556-06-01)รายงานนี้มุ่งหมายรวบรวมองค์ความรู้และถอดบทเรียนการดำเนินงานการแพทย์ฉุกเฉินของกลไกหลักในพื้นที่ที่มีสมรรถนะการดำเนินงานที่ดี เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนวทางการดำเนินงานของกลไกหลักในระดับจังหวัดและท้องถิ่น เพื่อเพิ่มสมรรถนะการดำเ ... -
การรับรู้และประสบการณ์ของผู้ป่วยในการใช้บริการรักษาพยาบาลตามนโยบาย เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน
วรรณภา บำรุงเขต; Wannapha Bamrungkhet; สุธีรดา ฉิมน้อย; Sutheerada Chimnoi; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และประสบการณ์ผู้ป่วยในการใช้บริการรักษาพยาบาลตามนโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน” โดยการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ ด้วยแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างแบบย้อนหลัง สุ่มสัมภาษณ์ด้วยวิธี ... -
การวิจัยดำเนินการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการและยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Sornsrivichai; สันติ ลาภเบญจกุล; Santi Lapbenjakul; ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03)โครงการวิจัยดำเนินการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการและยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดบริการแบบบูรณาการและยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Integrated People-Centered Health Services) พัฒนาเครื่องมื ... -
การวิจัยประเมินเพื่อพัฒนารูปแบบการจ่ายเพื่อสนับสนุนระบบการจัดบริการสุขภาพ วิถีใหม่นอกโรงพยาบาล สำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ปีที่ 1)
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; ภาณุวิชญ์ แก้วกำจรชัย; Phanuwich Kaewkamjornchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)การระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้เกิดผลกระทบในระบบสุขภาพในประเด็นความต่อเนื่องของการส่งมอบบริการสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทั้งจากสถานการณ์ของจำนวนผู้ติดเชื้อเองและผลจากมาตรการนโยบายต่างๆ ที่ใช้ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขและสำนั ... -
การวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบนำร่องการปฏิรูประบบบริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรคระดับพื้นที่
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; สันติ ลาภเบญจกุล; Santi Lapbenjakul; ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคเป็นมาตรการที่มีประสิทธิผลสูงในการลดภาระโรคและยกระดับสุขภาพของประชาชน งบบริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคสำหรับประชาชนคนไทยทุกคนอยู่ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งในการดำเนินงานที่ผ่านมาปร ... -
การวิจัยและพัฒนา : ชุดการจัดบริการและวิธีการจ่ายเงินแบบมุ่งเน้นคุณค่าสำหรับการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวานในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน
สันติ ลาภเบญจกุล; Santi Lapbenjakul; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Sornsrivichai; ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun; ภาณุวิชญ์ แก้วกำจรชัย; Phanuwich Kaewkamjonchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-04)ปัจจุบันประเทศไทยและทั่วโลกกำลังประสบปัญหาการเพิ่มขึ้นของความชุกของการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งหนึ่งในนั้น คือ โรคเบาหวาน หลักฐานเชิงประจักษ์หลายชิ้นระบุว่าการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงมีความสำคัญอย ... -
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายสนับสนุนระบบบริการสุขภาพโรคเรื้อรังและการมีส่วนร่วมที่หน่วยบริการปฐมภูมิของเภสัชกรโรงพยาบาล
อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; หนึ่งฤทัย สุกใส; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; On-anong Waleekhachonloet; Nungruthai Suksai; Thananan Rattanachotphanit; Chulaporn Limwattananon; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)ในปัจจุบัน ระบบบริการปฐมภูมิมีบทบาทเพิ่มขึ้นในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สามารถควบคุมอาการได้ การรักษาโรคเรื้อรังเกือบทั้งหมดเป็นการรักษาด้วยยา ดังนั้นเภสัชกรควรมีส่วนร่วมในการดูแลการใช้ยาในหน่วยบริการปฐมภูมิ ... -
ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการกับการใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ
จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; นพคุณ ธรรมธัชอารี; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พัชนี ธรรมวันนา; สุพล ลิมวัฒนานนท์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Chulaporn Limwattananon; Noppakun Thammatacharee; Onanong Waleekhachonloet; Patchanee Thamwanna; Supon Limwattananon; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)เป็นเวลากว่า 2 ทศวรรษแล้วที่ค่าใช้จ่ายของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการซึ่งใช้ระบบการจ่ายเงินแบบปลายเปิดเติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงหลังที่ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอกสูงกว่าผู้ป่วยใน การวิเคราะ ... -
ประสบการณ์ของผู้ป่วยที่ใช้บริการในโรงพยาบาลเอกชนนอกเครือข่ายระบบประกันสุขภาพภาครัฐและขอใช้สิทธิ “เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่ (UCEP)”
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; พงศกร อธิกเศวตพฤทธิ์; Pongsakorn Atiksawedparit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสบการณ์ของผู้ป่วยฉุกเฉินที่ไปขอใช้สิทธิ “เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่ (Universal Coverage for Emergency Patients: UCEP)” ในโรงพยาบาลเอกชนนอกเครือข่ายระบบประกันสุขภาพภาครัฐ ... -
ประสบการณ์ผู้ป่วยสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการในการรับบริการผ่าตัดแบบนัดหมายล่วงหน้าในโรงพยาบาลเอกชน
สุธีรดา ฉิมน้อย; พัฒนาวิไล อินใหม; สิรินาฏ นิภาพร; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Sutheerada Chimnoi; Phatthanawilai Inmai; Sirinard Nipaporn; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)ผู้มีสิทธิในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการสามารถรับบริการผ่าตัดแบบนัดหมายล่วงหน้า 77 รายการได้ที่โรงพยาบาลเอกชนที่สมัครเข้าร่วมโครงการและผ่านเกณฑ์ที่กำหนดจำนวน 32 แห่งโดยต้องมีการร่วมจ่ายค่าบริการส่วนเพิ่มที่เบิกไม่ได้ ... -
ผลกระทบของนโยบายการใช้บริการผ่าตัดแบบนัดหมายล่วงหน้าภายใต้ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการต่อระบบสุขภาพ
พัฒนาวิไล อินใหม; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Phatthanawilai Inmai; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)ผู้มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการสามารถไปรับบริการผ่าตัดแบบนัดหมายล่วงหน้าตามรายการที่กำหนดในโรงพยาบาลเอกชนที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกและยอมรับเงื่อนไขการจ่ายตามที่กรมบัญชีกลางกำหนดได้ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2554 ...