Browsing by Author "Thamonwan Dulsamphan"
Now showing items 1-5 of 5
-
การประเมินความคุ้มค่าของการตรวจวิเคราะห์รหัสพันธุกรรมในผู้ป่วยเด็กโรคลมชักที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา
ปองหทัย บุญสิมมา; Ponghatai Boonsimma; ธมลวรรณ ดุลสัมพันธ์; Thamonwan Dulsamphan; ปานทิพย์ จันทมา; Parntip Juntama; โชติกา สุวรรณพานิช; Chotika Suwanpanich; วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์; Vorasuk Shotelersuk; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ณัฏฐิญา ค้าผล; Nattiya Kapol; สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย; Surasit Lochid-amnuay; น้ำฝน ศรีบัณฑิต; Namfon Sribundit; ณัฏฐพล สัมประสิทธิ์; Nathapol Samprasit; วุทธิชาติ กมลวิศิษฎ์; Wuttichart Kamolvisit; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)บทนำ : โรคลมชักที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาในเด็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในประเทศไทย โดยสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการผิดปกติทางพันธุกรรม ปัจจุบันมีการนำการตรวจรหัสพันธุกรรม Exome Sequencing (ES) มาช่วยในการวินิจฉัยผู้ป่วยเด็กโร ... -
การประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกด้วยเทคโนโลยี Tandem Mass Spectrometry (MS/MS)
รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; ภคนันท์ อังกาบ; Pakkanan Angkab; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; ธมลวรรณ ดุลสัมพันธ์; Thamonwan Dulsamphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)โรคพันธุกรรมเมตาบอลิกเป็นโรคหายากซึ่งประกอบด้วยโรคหลายร้อยชนิด อาการและอาการแสดงของโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกสามารถเลียนแบบโรคในเด็กได้เกือบทุกโรค ซึ่งอาการแสดงอาจคล้ายโรคติดเชื้อ เช่น ซึม ไม่ดูดนม อาเจียน ชัก หอบ เป็นต้น ... -
การประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์และการวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณของเทคโนโลยี Next Generation Sequencing (NGS) ในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงเฉียบพลันโดยไม่ทราบสาเหตุ
ณัฏฐิญา ค้าผล; Nattiya Kapol; สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย; Surasit Lochid-amnuay; น้ำฝน ศรีบัณฑิต; Namfon Sribundit; วุทธิชาติ กมลวิศิษฎ์; Wuttichart Kamolvisit; ลลิดา ก้องเกียรติกุล; Lalida Kongkiattikul; วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์; Vorasuk Shotelersuk; ปองหทัย บุญสิมมา; Ponghatai Boonsimma; ณัฏฐพล สัมประสิทธิ์; Nathapol Samprasit; ปานทิพย์ จันทมา; Parntip Juntama; ธมลวรรณ ดุลสัมพันธ์; Thamonwan Dulsamphan; โชติกา สุวรรณพานิช; Chotika Suwanpanich; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)โรคทางพันธุกรรมเป็นหนึ่งในสาเหตุลำดับต้นๆ ของการเสียชีวิตและทุพพลภาพในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงเฉียบพลัน ซึ่งจำเป็นต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาลหรือหอผู้ป่วยวิกฤต การตรวจวินิจฉัยด้วยวิธีมาตรฐานอาจไม่สามารถแยกโรคได้หรืออาจใช้เ ... -
การพัฒนาแนวทางการประเมินความคุ้มค่า (Reference Case) สำหรับการแพทย์เฉพาะบุคคล หรือการแพทย์แม่นยํา เพื่อพิจารณาในชุดสิทธิประโยชน์ของระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย ส่วนที่ 1: การพัฒนากรอบแนวคิด PICCOTEAM Reference Case ในการประเมินความคุ้มค่าสำหรับการแพทย์เฉพาะบุคคลหรือการแพทย์แม่นยำ
ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; Dabak, Saudamini; Butani, Dimple; ธมลวรรณ ดุลสัมพันธ์; Thamonwan Dulsamphan; ปานทิพย์ จันทมา; Parntip Juntama; Yi, Wang; Chen, Wenjia (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)ความเป็นมา: การประเมินความคุ้มค่า (economic evaluations: EEs) ของการแพทย์แม่นยำ (precision medicine: PM) ในปัจจุบันมักเป็นไปตามแนวทางมาตรฐาน (Reference Case: RC) ของการประเมินความคุ้มค่า ซึ่งมิได้พิจารณาถึงแนวคิดของการแพ ... -
การพัฒนาแนวทางการประเมินความคุ้มค่า (Reference Case) สำหรับการแพทย์เฉพาะบุคคล หรือการแพทย์แม่นยํา เพื่อพิจารณาในชุดสิทธิประโยชน์ของระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย ส่วนที่ 2: ความคุ้มทุนของการทดสอบ Cascade Testing สำหรับโรคคอเลสเตอรอลสูงทางพันธุกรรมในประเทศไทย: การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบของวิธีการการจัดลำดับ Genome Sequencing ในช่วงการพัฒนาเทคโนโลยีที่แตกต่างกัน
ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; Dabak, Saudamini; Butani, Dimple; ธมลวรรณ ดุลสัมพันธ์; Thamonwan Dulsamphan; ปานทิพย์ จันทมา; Parntip Juntama; Yi, Wang; Chen, Wenjia; Zhang, Yue; วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์; Vorasuk Shotelersuk; ชนัฐจิตต์ เชี่ยวสมุทร; Chanatjit Cheawsamoot; ปรรณพัชร์ ลักษมีเศรษฐ์; Parnnaphat Luksameesate; ฉันทวัฒน์ ปฏิกรณ์; Chanthawat Patikorn; ณัฏฐณิชชา กุลธนชัยโรจน์; Nattanichcha Kulthanachairojana; สุธินี สู้ไพริน; Sutinee Soopairin; ธนพล คูหารัตนไชย; Thanapol Kuharatanachai; ปวรุตม์ วงศ์มโนวิสุทธิ์; Pawarut Wongmanovisut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)วัตถุประสงค์: Whole exome sequencing (WES) เป็นวิธีวิเคราะห์พื้นฐานที่ใช้ในการวินิจฉัยโรคคอเลสเตอรอลสูงทางพันธุกรรม (familial hypercholesterolemia, FH) และในปัจจุบันมีการพัฒนาเทคนิค long-read sequencing (LRS) ซึ่งทำให้สา ...