เลือกตามผู้แต่ง "กัญจนา ติษยาธิคม"
แสดงรายการ 1-20 จาก 39
-
การคลังระยะยาวของโครงการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ : ประมาณการรายจ่ายและแหล่งรายรับ
วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม; Viroj Tangcharoensathien; Cichon, Michael; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai; Kanjana Tisayaticom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 อยู่ แต่ได้รับการงบประมาณอุดหนุน ด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้ และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยื ... -
การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม; Walaiporn Patcharanarumol; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai; Kanjana Tisayaticom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2544 โดยได้รับเงินงบประมาณสนับสนุนการดำเนินการ เพื่อให้ประชาชนได้รับสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาลและสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพเมื่อเจ็บป่วย ... -
การดูแลรักษาพยาบาลตนเองของประชาชนไทยโดยการซื้อยาจากร้านขายยาแผนปัจจุบัน
รังสรรค์ ศรีภิรมย์; Rangsan Sripirom; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachodpanich; ภานุมาศ ภูมาศ; Panumas Phumas; สุมนต์ สกลไชย; Sumon Sakolchai; กรแก้ว จันทภาษา; Kornkaew Chantapasa; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีเป้าหมายให้คนไทยเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่จำเป็น เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของครัวเรือน อย่างไรก็ตามยังมีประชาชนที่ไม่ไปใช้บริการในสถานพยาบาล แต่ซื้อยามารักษาตนเองจากร้านยา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นย ... -
การวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบการบริหารจัดการงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค : บัญชีรายจ่ายเพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค ประเทศไทย พ.ศ. 2549-2552
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; พินทุสร เหมพิสุทธิ์; สุวารี เตียงพิทักษ์; กัญจนา ติษยาธิคม; ภาสกร สวนเรือง; จิตปราณี วาศวิท; ทวีศรี กรีทอง; รังสิมา ปรีชาชาติ; พัชนี ธรรมวันนา; ชาฮีดา วิริยาทร (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2553-12)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบบัญชีรายจ่ายด้านสุขภาพเพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคของประเทศไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนและกำกับติดตามการดำเนินงานด้านนี้ และมีวัตถุประสงค์เฉพาะคือ 1. เพื่อศึกษาแนวโน้มสถานก ... -
การวิเคราะห์และกำหนดอัตราเหมาจ่ายในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับ ปีงบประมาณ 2547
กัญจนา ติษยาธิคม; จิตปราณี วาศวิท; วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การจัดทำอัตราเหมาจ่ายรายหัวโครงการหลักประกันสุขภาพถ้านหน้าครั้งแรกในปีงบประมาณ 2545 คิดเป็น 1,202 บาทต่อคนต่อปี โดยใช้ฐานข้อมูลสองชุดคือ อัตราเจ็บป่วยและต้นทุนค่ารักษาพยาบาลของสถานพยาบาล การคำนวณครั้งที่สอง ในปีงบประมาณ ... -
การศึกษารูปแบบการจ้างงาน แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร และพยาบาล ในภาครัฐของประเทศไทยในระยะ 15 ปีข้างหน้า
กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; นารีรัตน์ ผุดผ่อง; Nareerut Pudpong; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Repeepong Suphanchaimat; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; พัชรี เพชรทองหยก; Patcharee Phetthongyok; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์; Karnwarin Gongkulawat; ปิติยา สันทัด; Pitiya Santad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)ปัจจุบันภาครัฐของไทยมีนโยบายลดการจ้างงานบุคลากรแบบข้าราชการ เพื่อลดภาระงบประมาณและปรับบทบาทการทำงานของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพและความคล่องตัวมากขึ้น นโยบายดังกล่าวส่งผลไม่เพียงแต่บุคลากรสนับสนุนบริการสุขภาพ แต่รวมถึงวิชาชี ... -
การศึกษาแหล่งทุนและการกำหนดยุทธศาสตร์งานวิจัยสุขภาพสำหรับประเทศไทย
พินทุสร เหมพิสุทธิ์; บุษราวรรณ ศรีวรรธนะ; งามจิตต์ จันทรสาธิต; ภสิณี ฟูตระกูล; สุริสา รีเจริญ; อรพินท์ มุกดาดิลก; สุวรรณี อัศวกุลชัย; กัญจนา ติษยาธิคม; เพ็ญศรี ตรามีคุณ; จารุณี จันทร์เพชร; หทัยรัตน์ คงสืบ; สายชล สู่สุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)งานวิจัยถือเป็นเครื่องมือที่สำคัญอย่างยิ่งในการที่จะช่วยแสวงหาหนทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในสภาวะการณ์ที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดนิ่ง สำหรับประเทศไทย มีข้อจำกัดในการส่งเสริมการวิจัยในด้านต่างๆ ทั้งปริมาณและงบประมาณ ... -
การสำรวจอนามัยและสวัสดิการของประชาชนไทย พ.ศ.2546: กรณีการรับบริการทันตกรรม
วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; นงลักษณ์ โงวิวัฒน์ชัย (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ คือศึกษาการรับบริการ ความคุ้มครองสุขภาพในการรับบริการและค่าใช้จ่ายในการรับบริการด้านทันตกรรมของประชากรไทยจำแนกตามกลุ่มอายุ สวัสดิการด้านการรักษาพยาบาล เขตที่อาศัยและลักษณะทางเศรษฐกิจสังคมของครัวเรือนไทย ... -
การเปลี่ยนแปลงภาวะทางเศรษฐกิจของครัวเรือนจากการวิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจเพื่อติดตามภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน(โดยใช้ตัวอย่างซ้ำ) 2548-2553
วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; กัญจนา ติษยาธิคม; สุพล ลิมวัฒนานนท์; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-02)การสำรวจเพื่อติดตามภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนโดยใช้ตัวอย่างซ้ำ เป็นการติดตาม สัมภาษณ์ครัวเรือนเดิมจำนวนประมาณ 6 พันตัวอย่าง รวมทั้งสิ้น 4 รอบ (พ.ศ. 2548, 2549, 2550 และ 2553) ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจสามารถนำไปใช้วิเ ... -
การใช้บริการทันตกรรมของประชาชนไทย : ผลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558
วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)การศึกษานี้ใช้ข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 ซึ่งเป็นการสำรวจระดับประเทศเพื่อวิเคราะห์รูปแบบการเข้ารับบริการทันตกรรมของประชาชนไทย การใช้สิทธิสวัสดิการเพื่อรับการรักษา รวมถึงค่าใช้จ่ายทางทันตกรรมที่เกิดขึ้น ... -
การใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลประเภทต่างๆ ของประชากรไทย พ.ศ. 2558
ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)ประเทศไทยได้เริ่มดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างจริงจังตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้การเข้าใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้บริการด้านสุขภาพของประชากรไทยตามสิทธ ... -
คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพียงพอตามเกณฑ์หรือไม่ : ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558
นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (adequate physical activity level) ในภาพรวมและจำแนกตามกลุ่มประชากรย่อยของประชากรไทยอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป จากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ ปี พ.ศ. 2558 ... -
คนไทยใช้พลังงานในกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมเนือยนิ่งเท่าไร: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558
ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมทางกายระดับปานกลางและหนักและพฤติกรรมเนือยนิ่งของประชากรไทยทั้งประเทศ โดยจำแนกพลังงานที่ใช้ตามกลุ่มกิจกรรม ได้แก่ การทำงาน การเดินทาง นันทนาการ และพฤติกรรมเนือยนิ่ง ... -
ความจำเป็นทางสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนอง (Unmet health need) กรณีผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในและบริการทันตกรรม ในประชากรไทย พ.ศ. 2558
เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; ศศิรัตน์ ลัพธิกุลธรรม; Sasirat Lapthikultham; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)ประเทศไทยบรรลุระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ภายใต้ระบบประกันสุขภาพภาครัฐสามระบบหลัก ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นได้มากขึ้น โดยไม่ต้องกังวลเรื่องภาระค่าใช้จ่ายสำหรับการรักษาพยาบาล ... -
ความเป็นธรรมของการใช้บริการสุขภาพ
สุพล ลิมวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; กัญจนา ติษยาธิคม; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548-11)เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า ช่องว่างทางเศรษฐกิจมีผลกระทบต่อความแตกต่างด้านสุขภาพระหว่างคนจนกับคนรวย ซึ่งเป็นไปตาม วัฏจักร “โง่-จน-เจ็บ” ถึงแม้ว่า ในยุคหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คนไทยเกือบทุกคนจะได้สิทธิประโยชน์ในการเข้าถ ... -
ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพไทย: ประสบการณ์ของผู้บริหารระดับสูงกระทรวงสาธารณสุข
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; นิตยา จันทร์เรือง มหาผล; กัญจนา ติษยาธิคม; เอื้องฟ้า คงเอี่ยมตระกูล; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อให้ประชาชนไทยมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพโดยไม่มีอุปสรรคทางด้านการเงิน และส่งผลให้เกิดความเป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ผู้บริหารระ ... -
ความเป็นไปได้ของแหล่งเงินต่างๆ ตามมาตรา 39 ในพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ในทัศนะของผู้สันทัดกรณี
วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Chitpranee Vasavid; Kanjana Tisayaticom; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)แหล่งการเงินของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในขณะนี้มาจากการจัดทำคำขอจากเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลโดยเลือกใช้การจัดทำงบประมาณปลายปิดด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวคูณกับจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียน จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ... -
ความแตกต่างของการใช้พลังงานจากกิจกรรมทางกายระหว่างคนเมือง/คนชนบทในประเทศไทย: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558
ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananonta; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)มีหลักฐานเชิงประจักษ์เป็นจำนวนมากที่แสดงให้เห็นประโยชน์ของการมีกิจกรรมทางกาย หลายการศึกษาระบุว่า ปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ถือเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการมีกิจกรรมทางกาย การกำหนดนโยบายจึงต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ การศึกษานี้ ... -
ความแตกต่างของพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทย: ลักษณะประชากร เศรษฐกิจและสังคม และสถานะสุขภาพส่งผลอย่างไร
ชัชวาลย์ เผ่าเพ็ง; Chatchawarn Paopeng; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุสำคัญที่นำไปสู่โรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้ได้วิเคราะห์ความเกี่ยวข้องระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทยที่มีอายุ ... -
คู่มือการวิเคราะห์ต้นทุนโรงพยาบาลชุมชน
กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)คู่มือการวิเคราะห์ต้นทุนโรงพยาบาลชุมชนฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และศักยภาพในการวิเคราะห์ต้นทุนของสถานพยาบาลในภาครัฐ ให้สามารถวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์การเงินการคลังของตนเองได้ เป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อรอ ...