เลือกตามผู้แต่ง "กุมารี พัชนี"
แสดงรายการ 1-8 จาก 8
-
กระบวนการทางนโยบายและความสำเร็จในการเพิ่มชุดสิทธิประโยชน์ของระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ : กรณีการปลูกถ่ายตับในเด็กที่มีภาวะท่อน้ำดีตีบตัน
วราภรณ์ สุวรรณเวลา; Waraporn Suwanwela; คณิตสรณ์ สัมฤทธิ์เดชขจร; Kanitsorn Sumriddetchkajorn; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thammatacharee; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)สิทธิประโยชน์บริการสาธารณสุขภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ครอบคลุมบริการอย่างรอบด้าน อย่างไรก็ตาม มีบริการบางอย่างที่ไม่ครอบคลุม (negative list) ซึ่งการปลูกถ่ายอวัยวะเป็นหนึ่งในรายการที่ไม่ครอบคลุมในสิทธิประโยชน์และ ... -
การประเมินความคุ้มค่าการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งระยะกลางและระยะท้าย ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan; ประเวชย์ มหาวิฑิตวงศ์; Prawej Mahawithitwong; ประวัฒน์ โฆสิตะมงคล; Prawat Kositamongkol; สัญหวิชญ์ จันทร์รังสี; Sanhawit Janrungsee; บัณฑูร นนทสูติ; Bunthoon Nonthasoot; กรกช เกษประเสริฐ; Goragoch Gesprasert; กิตติพงศ์ ชัยบุตร; Kittipong Chaiyabutr; ธราธิป ศรีสุข; Tharatip Srisuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอชุดสิทธิประโยชน์สำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งระยะกลางและระยะท้าย โดยรูปแบบของการศึกษาประกอบด้วยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การเก็บข้อมูลปฐมภูมิจากผู้ป่วยโรคตับแ ... -
การประเมินความเป็นไปได้และความคุ้มค่าในการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ผ่านสายด่วนตั้งครรภ์ไม่พร้อม ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; ภิชารีย์ กรุณายาวงศ์; Picharee Karunayawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; มันตา กรกฎ; Manta Korakot; อธิพร เรืองทวีป; Atiporn Rueangthaweep; นภดล พิมสาร; Nopphadol Pimsarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-08)การยุติการตั้งครรภ์ หรือการทำแท้งในประเทศไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2554-2563 มีสัดส่วนเพิ่มสูงขึ้น โดยปัจจัยสำคัญของการยุติการตั้งครรภ์ คือ สภาพเศรษฐกิจและสังคม และปัจจัยด้านสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งหน่วยงานภาครัฐได้มีการพัฒนาร ...ป้ายกำกับ:รายการแนะนำ -
การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพกับการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; อกนิฏฐา พูนชัย; Akanittha Poonchai; กุมารี พัชนี; Kumaree Patchanee; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มดำเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2552 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ให้มีความครอบคลุมมากขึ้นด้วยกระบวนการที่เป็นระบบ โปร่งใสและอยู่บนพื้นฐา ... -
การพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ของการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ด้วยเครื่องแมมโมแกรม และอัลตราซาวด์ในผู้หญิงที่มีความเสี่ยงสูง ในประเทศไทย
วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ณัฏฐิญา ค้าผล; Nattiya Kapol; ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; ศิวนัย ดีทองคํา; Siwanai Deethongkum; ฉัฐญาณ์ วงศ์รัฐนันท์; Chathaya Wongrathanandha; ธวัชสภณ ธรรมบํารุง; Tawasapon Thambamroong; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-07)โรคมะเร็งเต้านม เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในมะเร็งที่พบในเพศหญิงและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี อัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยขึ้นอยู่กับระยะที่ตรวจพบ การตรวจคัดกรองเพื่อให้พบมะเร็งเต้านมตั้งแต่ระยะแรกเริ่มเพื่อส่งต่อเข้าสู่กระบ ...ป้ายกำกับ:รายการแนะนำ -
การพัฒนาทางเลือกเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเบิกจ่ายสำหรับมาตรการที่มีราคาแพงในระบบสุขภาพภาครัฐของประเทศไทย
วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; Dabak, Saudamini Vishwanath; Faradiba, Dian; Butani, Dimple; Prakash, Annapoorna; Zayar, Nyi Nyi; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; บุสดี โสบุญ; Budsadee Soboon; พรณภัทร เฉิดฉินนภา; Phornnaphat Chertchinnapa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)วิทยาศาสตร์มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วเพื่อช่วยผู้คน แต่ส่งกระทบต่อความยั่งยืนของระบบสาธารณสุขเช่นกัน ปัจจุบันมีมาตรการด้านสุขภาพที่มีราคาแพง เช่น การคัดกรองยาราคาแพงและผลิตภัณฑ์การแพทย์ขั้นสูง (Advanced Therapy Medicinal ... -
การศึกษาประสิทธิผลและการประเมินความคุ้มค่าการรักษาด้วยเครื่องพลาสมาเฟเรซิส
สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; ธนวรรณ ปรีพูล; Tanawan Preepul; ศิริรัตน์ อนุตระกูลชัย; Sirirat Anutrakulchai; จารุพร พรหมวงศ์; Jaruporn phromwong; เกษราพร วงษ์บา; Ketsaraporn Wongba; มนธรี สวโรจน์; Montaree Sawarojh; จิราวดี น้อยวัฒนกุล; Jirawadee Noiwattanakul; สหรัฐ อังศุมาศ; Saharat Aungsumart; เมธา อภิวัฒนากุล; Metha Apiwattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)Therapeutic Apheresis คือ การรักษาผู้ป่วยด้วยการแยกเอาส่วนประกอบที่อยู่ในเลือด เช่น เม็ดเลือดขาว น้ำเหลือง สารที่อยู่ในน้ำเหลืองซึ่งเป็นสาเหตุของโรคออกจากตัวผู้ป่วย จากการทบทวนวรรณกรรมอย่างรอบด้าน พบว่าข้อบ่งชี้ของการทำ ... -
การศึกษาเพื่อประเมินหัวข้อปัญหาหรือเทคโนโลยีด้านสุขภาพเพื่อประกอบการพิจารณาเป็นสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีพ.ศ. 2559-2560 (ภายใต้โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า)
ภูษิต ประคองสาย; กุมารี พัชนี; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; สุรัชดา ชนโสภณ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01)รายการหัวข้อปัญหาและเทคโนโลยีด้านสุขภาพที่ได้ทำการประเมินในระหว่างเดือนตุลาคม 2559 ถึง มกราคม 2561 เป็นหัวข้อที่มีความสำคัญและจำเป็นต้องมีการศึกษา เพื่อใช้ผลการศึกษาประกอบการพิจารณาเป็นชุดสิทธิประโยชน์ สำนักงานหลักประกัน ...