เลือกตามผู้แต่ง "จเด็จ ธรรมธัชอารี"
แสดงรายการ 1-15 จาก 15
-
กระบวนการทางนโยบายและความสำเร็จในการเพิ่มชุดสิทธิประโยชน์ของระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ : กรณีการปลูกถ่ายตับในเด็กที่มีภาวะท่อน้ำดีตีบตัน
วราภรณ์ สุวรรณเวลา; Waraporn Suwanwela; คณิตสรณ์ สัมฤทธิ์เดชขจร; Kanitsorn Sumriddetchkajorn; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thammatacharee; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)สิทธิประโยชน์บริการสาธารณสุขภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ครอบคลุมบริการอย่างรอบด้าน อย่างไรก็ตาม มีบริการบางอย่างที่ไม่ครอบคลุม (negative list) ซึ่งการปลูกถ่ายอวัยวะเป็นหนึ่งในรายการที่ไม่ครอบคลุมในสิทธิประโยชน์และ ... -
กระบวนการออกจากระบบราชการขององค์การมหาชน: กรณีศึกษาโรงพยาบาลบ้านแพ้ว
จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thammatacharee; แพร จิตตินันทน์; มยุรี ธนะทิพานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)การปรับเปลี่ยนโรงพยาบาลบ้านแพ้วให้เป็นองค์การมหาชน เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่มีพัฒนาการอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่การมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารโรงพยาบาลในอดีต จนมาถึงการปรับเปลี่ยนองค์กร การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ... -
การจัดลำดับปัญหาทางสุขภาพของประชากรไทยในปี 2542 โดยการใช้เครื่องชี้วัดภาระโรค
สุพรรณ ศรีธรรมมา; ปรีดา แต้อารักษ์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ยงเจือ เหล่าศิริถาวร; จเด็จ ธรรมธัชอารี; พงศ์เทพ วงศ์วัชรไพบูลย์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; อำนวย แสงฉายเพียงเพ็ญ; อริยะ บุญงามชัยรัตน์; ชูจิตร นาชีวะ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)การศึกษานี้เป็นการวิเคราะห์ความสูญเสียด้านสุขภาพโดยใช้ดัชนีปีสุขภาวะที่สุญเสียไปจากการตายก่อนวัยอันควร การเจ็บป่วยและพิการ (Disability - Adjusted Life Year: DALY) เพื่อนำมาใช้ในการจัดลำดับ ปัญหาทางสุขภาพของคนไทย ... -
การประเมินระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในช่วงทศวรรษแรก 2544-2553
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; จิรบูรณ์ โตสงวน; นุชรี ศรีวิโรจน์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; วินัย ลีสมิทธิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; นุศราพร เกษสมบูรณ์; บุญชัย กิจสนาโยธิน; ครรชิต สุขนาค; จเด็จ ธรรมธัชอารี; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สงครามชัย ลีทองดี; Hughes, David (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)ทำการประเมินในปี พ. ศ. 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และ ประเมินว่าการปฏิรูปในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีประเด็นใดบ้างที่ประสบผลสำเร็จ และประเด็นใดบ้างที่ไม่ประสบผลสำเร็จ ... -
การให้บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้การจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thammatacharee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)“สร้างนําซ่อม” เป็นหลักการและจุดมุ่งหมายที่สําคัญของการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ได้มีการกําหนดไว้ในระดับนโยบาย ด้วยเหตุนี้ทําให้การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคเป็นองค์ประกอบหลักประการหนึ่งของการสร้างหลักประกันสุ ... -
ความแตกต่างในจำนวนวันนอนและการเข้ารักษาซ้ำแบบผู้ป่วยในของผู้ป่วยเบาหวานระหว่างระบบประกันสุขภาพ
จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thamthajaree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)การศึกษานี้เป็นการศึกษาประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรและคุณภาพบริการที่ได้รับจากระบบหลักประกันสุขภาพที่ต่างกัน 3 ระบบคือ ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระบบประกันสังคม และระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการโดยใช้การเข้ารับบริการ ... -
คำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย : ระยะที่ 1
จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; สรรธวัช อัศวเรืองชัย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; จเด็จ ธรรมธัชอารี; ภรณี เหล่าอิทธิ; Santawat Asawarueangchai; Kin Phongphirun; Jadej Thammatacharee; Pharanee Laoitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)โครงการวิจัยนี้ประกอบด้วยการศึกษา 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นการทบทวนประสบการณ์การทำวิจัยด้านคุณภาพของบริการสุขภาพ และการทำข้อเสนอกรอบคำถามของการวิจัยเบื้องต้น และระยะที่ 2 ซึ่งจะการสำรวจสถานการณ์และข้อคำถามของผู้ ... -
คำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย : ระยะที่ 2
จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; สรรธวัช อัศวเรืองชัย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; จเด็จ ธรรมธัชอารี; ภรณี เหล่าอิทธิ; Santawat Asawarueangchai; Krit Pongpirul; Jadej Thammatacharee; Poranee Laoitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)โครงการวิจัยคำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย นี้ประกอบด้วยการศึกษา 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นการทบทวนประสบการณ์การทำวิจัยด้านคุณภาพของบริการสุขภาพ และการทำข้อเ ... -
ตัวชี้วัดคุณภาพจากข้อมูลผู้ป่วยใน (Administrative data) กับคุณลักษณะของโรงพยาบาล
Jadej Thammatacharee; จเด็จ ธรรมธัชอารี; สาหร่าย เรืองเดช; Sarai Rueangdej (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)การศึกษาวิจัยเรื่องตัวชี้วัดคุณภาพจากข้อมูลผู้ป่วยในกับคุณลักษณะของโรงพยาบาล เป็นการศึกษาถึงตัวชี้วัดทางคุณภาพของหน่วยบริการจากข้อมูลผู้ป่วยใน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบตัวชี้วัดซึ่งมีการใช้ในการประเมินคุณภาพของหน่วยบริ ... -
บทเรียนสู่อนาคตการจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ใน Public Health Emergency
จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thammatacharee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-07)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ... -
ระบบบริหารงานโรงพยาบาลรัฐกับโรงพยาบาลเอกชน : การบริหารจัดการทางการเงินและธุรกิจสำหรับโรงพยาบาลรัฐที่จะบริหารอย่างอิสระ
ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ชาญวิทย์ ทระเทพ; จเด็จ ธรรมธัชอารี; วินัย ลีสมิทธิ์; Chanvit Tharathep; Jadej Thammatacharee; Vinai Leesmidt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)Management of public and private hospitals : financial and business apportunities for the autonomous hospitalsThe aim of this research was to compare the managerial systems between the sampled public and private hospitals ... -
ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
สำนักงานประกันสุขภาพ; มูลนิธิเยอรมันเพื่อการพัฒนานานาชาติ; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)หนังสือ ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย เป็นการรวบรวมผลการศึกษา ทบทวนประสบการณ์การจัดระบบหลักประกันสุขภาพภายในประเทศไทย ซึ่งจะเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับใช้เรียนรู้ วิเคราะห์ และวิจัยให้มองเห็นจุดอ่อน จุดแข็ง และจุดเปลี่ยนผ่านที่ ... -
ระบบหลักประกันสุขภาพไทย
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ; National Health Security Office; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, 2555)เมื่อปี พ.ศ. 2544 สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขได้จัดพิมพ์หนังสือ “ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย” ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อันเป็นผลสืบเนื่องจากการจัดประชุมสัมมนานานาชาติครั้งที่ 8 ว่าด้วยการพัฒนาประกันสุขภาพและการนำไปปฏ ... -
ลักษณะทางประชากรและสังคมของบุคคลที่เสี่ยงต่อวงจรอุบาทว์ “โง่-จน-เจ็บ”: ข้อค้นพบจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558
จิรพันธุ์ จรัสภัทรโรจน์; Jiraphan Jaratpatthararoj; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thammatacharee; กาญจนา ศิริโกมล; Kanjana Sirigomon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)เป้าประสงค์หลักของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คือการทำให้ประชาชนมีสิทธิในการใช้บริการสุขภาพโดยไม่มีอุปสรรคด้านการเงิน เป็นการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นสำหรับคนทุกคน และลดภาระรายจ่ายด้านสุขภาพของครัวเรือน ... -
วิจัยและพัฒนาแผนแม่บทและเครื่องชี้วัดคุณภาพของบริการสาธารณสุขภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่วนที่ 2 ชุดเครื่องชี้วัดสำหรับการกำกับติดตามประเมินคุณภาพบริการสาธารณสุข
จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; สุรีรัตน์ งามเกียรติไพศาล; ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์; สรรธวัช อัศวเรืองชัย; จเด็จ ธรรมธัชอารี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)เครื่องชี้วัดคุณภาพของบริการสาธารณสุขภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าชุดนี้ ครอบคลุมการดําเนินงานใน 6 มิติ ตามมุมมองของคุณภาพที่เสนอไว้ในร่างยุทธศาสตร์และแผนแม่บทในการติดตามกํากับและประเมินคุณภาพบริการสาธารณสุขภายใต้ระ ...