• การประยุกต์ใช้สาร (1->3)-เบต้า-ดี-กลูแคน: ตัวชี้วัดทางชีวภาพเพื่อการตรวจติดตามโรคพิทิโอซิสในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาแบบ immunotherapy 

      อริยา จินดามพร; อัษฎาศ์ ลีฬหวนิชกุล; รังสิมา เหรียญตระกูล; นวพร วรศิลป์ชัย; Ariya Chindamporn; Asada Leelahavanichkul; Rungsima Reantragoon; Navaporn Worasilchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-10)
      พิเทียม อินซิดิโอซุ่ม เป็นเชื้อก่อโรคพิทิโอซิสซึ่งมีอันตรายถึงแก่ชีวิต พยาธิสภาพในหลอดเลือดแดงและกระจกตาเป็นลักษณะอาการทางคลินิกที่พบได้บ่อย โดยกลุ่มที่ติดเชื้อในหลอดเลือดแดงส่วนใหญ่มีโรคทาลัสซีเมียเป็นโรคประจำตัว ...
    • การรักษาโรคพิธิโอซิสแบบผสมผสานโดยมีการผ่าตัด การให้ยาต้านเชื้อราและยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (ปีที่ 3) 

      นิติพงศ์ เพิ่มพลัง; Nitipong Permpalung; รองพงศ์ โพล้งละ; Rongpong Plongla; นวพร วรศิลป์ชัย; Navaporn Worasilchai; ปัทมา ต.วรพานิช; Pattama Torvorapanit; นิพัทธ์ ชูลีระรักษ์; Nipat Chuleerarux; กษมา มโนธรรมเมธา; Kasama Manothummetha; อชิตพล ทองคำ; Achitpol Thongkam; ณัฐพงศ์ เหล็งศิริ; Nattapong Langsiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10)
      หลักฐานทางวิชาการก่อนการศึกษานี้ โรคพิธิโอซิสในหลอดเลือดเป็นโรคที่พบได้ไม่มาก แต่เป็นโรคที่มีอันตรายถึงแก่ชีวิตของผู้ป่วยได้ โดยผู้ป่วยที่ยังมีรอยโรคหลังจากการผ่าตัดจะเสียชีวิตทั้งหมดไม่ว่าจะได้รับการรักษาโดยยาอื่น ๆ ...
    • การวินิจฉัยและรักษาโรคติดเชื้อพิธิโอซิสในหลอดเลือด 

      ปัทมา ต.วรพานิช; อริยา จินดามพร; นวพร วรศิลป์ชัย; พงศกร เอื้อวงศ์ประยูร; นิติพงศ์ เพิ่มพลัง; รองพงศ์ โพล้งละ; ณัฐพล สุแสงรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)
      เนื้อหาภายในเล่มประกอบด้วย 1) ทำความรู้จักโรคติดเชื้อพิธิโอซิส 2) อาการ อาการแสดง และประวัติทางคลินิกของโรคติดเชื้อพิธิโอซิสในหลอดเลือด 3) จุลชีววิทยาของเชื้อก่อโรคพิธิโอซิส 4) การยืนยันการวินิจฉัยโรคติดเชื้อพิธิโอซิส ...
    • การออกแบบหลักสูตรออนไลน์เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการวินิจฉัยโรคติดเชื้อพิธิโอซิสในหลอดเลือด 

      ปัทมา ต.วรพานิช; Pattama Torvorapanit; สุรชัย เล็กสุวรรณกุล; Surachai Leksuwankun; อริยา จินดามพร; Ariya Chindamporn; นวพร วรศิลป์ชัย; Navaporn Worasilchai; รองพงศ์ โพล้งละ; Rongpong Plongla; กษมา มโนธรรมเมธา; Kasama Manothummetha; ณัฐพงศ์ เหล็งศิริ; Nattapong Langsiri; กษิดิศ ป้องขันธ์; Kasidis Phongkhun; นิติพงศ์ เพิ่มพลัง; Nitipong Permpalung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      โรคติดเชื้อพิธิโอซิส เกิดจากการติดเชื้อ Pythium Insidiosum ซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคในกลุ่มที่คล้ายเชื้อราแต่ไม่ใช่เชื้อรา จัดอยู่ในกลุ่มใกล้เคียงกับไดอะตอม Pythium spp. ถูกค้นพบเป็นการติดเชื้อในพืชมาก่อน ต่อมามีรายงานการติดเชื้อในสัตว์ ...