เลือกตามผู้แต่ง "พนัชญา ขันติจิตร"
แสดงรายการ 1-5 จาก 5
-
การถอดบทเรียนการบริหารจัดการกำลังคนด้านการพยาบาลและสมรรถนะของพยาบาลเพื่อตอบสนองภาวะวิกฤตโควิด-19 ในระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ เขตสุขภาพที่ 10
จรูญศรี มีหนองหว้า; Jaroonsree Meenongwah; ปัทมา ผ่องศิริ; Pattama Phongsiri; สาดี แฮมิลตัน; Sadee Hamilton; สุเพียร โภคทิพย์; Supian Pokathip; วิโรจน์ เซมรัมย์; Wirote Semrum; เอมอร บุตรอุดม; Aimon Butudom; พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ปัฐมาพร ใจกล้า; Pattamaporn Jaikla; รัตนา บุญพา; Rattana Boonpha; เชาวลิต ศรีเสริม; Chaowalit Srisoem; อรดี โชคสวัสดิ์; Oradee Choksawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)ผู้ป่วย COVID-19 ที่เพิ่มมากขึ้นทำให้มีการขยายบริการสุขภาพ ซึ่งพยาบาลมีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยและบริการสุขภาพด้านอื่นๆ ทำให้มีการบริหารอัตรากำลังและพัฒนาสมรรถนะที่แตกต่างกันตามบริบทของโรงพยาบาล การวิจัยแบบถอดบทเรียนนี ... -
การบริหารจัดการกำลังคนด้านการพยาบาลและสมรรถนะของพยาบาลเพื่อตอบสนองภาวะวิกฤตโควิด-19 ในระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ เขตสุขภาพที่ 10
จรูญศรี มีหนองหว้า; Jaroonsree Meenongwah; สาดี แฮมิลตัน; Sadee Hamilton; ปัทมา ผ่องศิริ; Pattama Phongsiri; สุเพียร โภคทิพย์; Supian Pokathip; เอมอร บุตรอุดม; Aimon Butudom; พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; อรดี โชคสวัสดิ์; Oradee Choksawat; รัตนา บุญพา; Rattana Boonpha; เชาวลิต ศรีเสริม; Chaowalit Srisoem; ปัฐมาพร ใจกล้า; Pattamaporn Jaikla; วิโรจน์ เซมรัมย์; Wirote Semrum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่เพิ่มมากขึ้นทำให้บุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลต้องมีภาระงานเพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะวิชาชีพพยาบาลที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยโดยตรง ทำให้ต้องมีการบริหารอัตรากำลังด้านการพยาบา ... -
การศึกษาระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือด ในจังหวัดอุบลราชธานี
พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ภัทระ แสนไชยสุริยา; Pattara Sanchaisuriya; พิมพา เทพวัลย์; Pimpa Thepphawan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)การรักษาผู้ป่วยภาวะสมองขาดเลือดด้วย rtPA ในระยะเวลาไม่เกิน 3 ชั่วโมง หรือ 180 นาทีหลังเกิดอาการ จะเพิ่มโอกาสหายหรือดีขึ้นได้ แต่หากมารับการรักษาช้าอาจนำไปสู่การเกิดความพิการถาวรและเสียชีวิตได้ การศึกษาเชิงบรรยายนี้ ... -
ระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือดในจังหวัดอุบลราชธานี
พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ภัทระ แสนไชยสุริยา; Pattara Sanchaisuriya; พิมพา เทพวัลย์; Pimpa Thepphawan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)การรักษาผู้ป่วยภาวะสมองขาดเลือดด้วย rtPA ในระยะเวลาไม่เกิน 3 ชั่วโมง หรือ 180 นาทีหลังเกิดอาการ จะเพิ่มโอกาสหายหรือดีขึ้นได้ แต่หากมารับการรักษาช้าอาจนำไปสู่การเกิดความพิการถาวรและเสียชีวิตได้ การศึกษาเชิงบรรยายนี้ ... -
ระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือดในจังหวัดอุบลราชธานี
พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ภัทระ แสนไชยสุริยา; Pattara Sanchaisuriya; พิมพ์นิชา เทพวัลย์; Pimnicha Thepphawan (2559-09)การรักษาผู้ป่วยภาวะสมองขาดเลือดด้วย rtPA ในระยะเวลาไม่เกิน 3 ชั่วโมง หรือ 180 นาทีหลังเกิดอาการ จะเพิ่มโอกาสหายหรือดีขึ้นได้ ตรงกันข้าม การมารับการรักษาช้าอาจจะนำไปสู่การเกิดความพิการถาวรหรือเสียชีวิตได้ การศึกษาเชิงบรรยายนี้ ...