เลือกตามผู้แต่ง "ภัทรวลัย ตลึงจิตร"
แสดงรายการ 1-7 จาก 7
-
SI Health Policy Unit (SiHP)
ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit (หน่วยวิจัยเพื่อขับเคลื่อนนโยบายสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, 2558-12-15)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเครือข่ายการวิจัยระบบสุขภาพ หัวข้อ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ของหน่วยงานวิจัยเชิงระบบและนโยบายสุขภาพ วันที่ 15 ธันวาคม 2558 เวลา 10.00-12.00 น. ณ ห้องกินรี2 โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพฯ -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติในครรภ์ก่อนคลอดในประเทศไทย
อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ปรีชญา วงษ์กระจ่าง; Preechaya Wongkrajang; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; เสริมสิริ แสงรุ่งเรืองศรี; Sermsiri Sangroongruangsri; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)ประเทศไทยมีรายงานอุบัติการณ์ของโรคโครโมโซมผิดปกติ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ในทารกแรกเกิดอยู่ระหว่าง 1 : 800 ถึง 1 : 1,000 โดยพบความเสี่ยงเพิ่มขึ้นตามอายุของมารดา อย่างไรก็ตามร้อยละ 75-80 ของทารกแรกเกิดที่มีอาการดาวน์นั้นพบว่า ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยภาวะพาหะธาลัสซีเมียในคู่สามีภรรยาในประเทศไทย
อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ปรีชญา วงษ์กระจ่าง; Preechaya Wongkrajang; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; เสริมสิริ แสงรุ่งเรืองศรี; Sermsiri Sangroongruangsri; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)ความชุกของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียพบได้ประมาณร้อยละ 1 ของประชากรทั้งหมด โดยมีผู้ที่เป็นพาหะของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียประมาณร้อยละ 30-40 จึงสามารถประมาณการได้ว่าจะพบผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงรายใหม่ 5,125 คน ... -
การพัฒนาโจทย์วิจัยที่อาจดำเนินการในหลายพื้นที่ : Postpartum Hemorrhage และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit.; ปิยวรรณ ลิ้มปัญญาเลิศ; Piyawan Limpanyalert (สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน), คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, 2559-02-23)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเครือข่ายการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 2 หัวข้อ การพัฒนาโจทย์วิจัยที่อาจดำเนินการในหลายพื้นที่ : Postpartum Hemorrhage และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องกินรี 2 โรงแรมอมารี ... -
การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์และความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA โดยชุดเก็บตัวอย่างด้วยตัวเองในประเทศไทย
พจมาน พิศาลประภา; Pochamana Phisalprapa; สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ธเนศ ชัยสถาผล; Thanet Chaisathaphol; กิรติ เก่งกล้า; Kirati Kengkla; สุกฤษฏิ์ กาญจนสุระกิจ; Sukrit Kanchanasurakit; ชญานิศ โฆสิตะมงคล; Chayanis Kositamongkol; เอื้อรัตน์ มีประมูล; Euarat Mepramoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ที่มา : มะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่มีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับ 3 ในสตรีไทย แม้ว่าปัจจุบันสตรีไทยจะมีสิทธิในเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก แต่อุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทยก็ยังคงสูง ... -
การศึกษาเพื่อการพัฒนาการจัดการระบบบริการสุขภาพในระดับเขต
จิระวัฒน์ ปั้นเปี่ยมรัษฎ์; Jirawat Panpiemras; บุญวรา สุมะโน; Boonwara Sumano; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; เพ็ญประภา ศิวิโรจน์; Penprapa Siviroj; ยุทธพงศ์ วงศ์สวัสดิวัฒน์; Yuttapong Wongswadiwat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasit Sornsrivichai; พยอม ถิ่นอ่วน; Payom Tin-uan; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-02)นโยบายเขตบริการสุขภาพ ซึ่งเริ่มดำเนินการเมื่อ พ.ศ. 2555 นับเป็นอีกก้าวแห่งความพยายามพัฒนาระบบบริการสุขภาพในขอบเขตความรับผิดชอบของกระทรวงสาธารณสุข ภายหลังความพยายามซึ่งมีมาเป็นระลอก ดังตัวอย่างนโยบายพัฒนาบริการสาธารณสุข ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอ ทางเลือกของกลไกเพื่อพัฒนาระบบบริการตรวจคัดกรองสุขภาพ (Health Screening) ในประเทศไทย
จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ภรณี เหล่าอิทธิ; กนิษชานันท์ ช่วยเรือง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03-31)สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 6 มีมติเกี่ยวกับนโยบายการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับประชาชน และมอบหมายให้สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ศึกษาพัฒนากลไกพัฒนาระบบบริการการตรวจสุขภาพในระดับชาติ ถือเป็นความท้าทายที่ส ...