เลือกตามผู้แต่ง "ภัทระ แสนไชยสุริยา"
แสดงรายการ 1-11 จาก 11
-
การควบคุมกำกับและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์ในกลุ่มเป้าหมายประชากรเคลื่อนย้ายและชาติพันธุ์
ภัทระ แสนไชยสุริยา; ปาหนัน พิชยภิญโญ; ภูษิตา อินทรประสงค์; ปิยะธิดา สมุทรประภูติ; พงษ์เดช สารการ; รัชนี มิตกิตติ; อุษา โถหินัง (โครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์, 2553-12)วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประเมินการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของโครงการเข้าถึงประชากรเคลื่อนย้ายและเข้าถึงยากต่างด้าว เพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งโครงการมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1.1 เพื่อเสริมสร้างความรู้เ ... -
การควบคุมกำกับและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์ในกลุ่มเยาวชน
ภูษิตา อินทรประสงค์; ภัทระ แสนไชยสุริยา; อาภาพร เผ่าวัฒนา; มณฑา เก่งการพานิช; นันทวัน ยันตะดิลก; พงษ์เดช สารการ; นุชวรรณ์ บุญเรือง; สิทธิกร รองสำลี (โครงการพัฒนารูปแบบและกลไกรณรงค์เพื่อป้องกันปัญหาเอดส์, 2553-12)วัตถุประสงค์การดำเนินการโครงการวิจัยฯนี้มีวัตถุประสงค์ในการ 1. ศึกษากระบวนการ กลไก และกิจกรรมการดำเนินงานพัฒนาศักยภาพองค์กรสมาชิกและแกนนำ ชุมชน 2. ศึกษาโครงสร้าง และการบริหารจัดการโครงการฯ ในกลุ่มเยาวชน 3. ศึกษากระบว ... -
การศึกษาผลของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลต่อการเสริมพลังอำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรชุมชนในการจัดการปัญหาสุขภาพชุมชน
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; พงค์เทพ สุธีรวุฒิ; ภัทระ แสนไชยสุริยา; สงครามชัย ลีทองดี; มุกดา สำนวนกลาง; ทัศนีย์ ญาณะ; รัชนี สรรเสริญ; เบญจวรรณ ทิมสุวรรณ; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; พัฒนาวิไล อินใหม; อังสุมาลี ผลภาค; อาณัติ วรรณศรี (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2554-09)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกองทุนสุขภาพตำบลในการเสริมพลังอำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรชุมชนในการจัดการปัญหาสุขภาพชุมชน รวมถึงกับปรับตัวในการทำงานของบุคลากรสาธารณสุข ทั้งนี้เนื่องจากบริบทและสภาพ ... -
การศึกษาระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือด ในจังหวัดอุบลราชธานี
พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ภัทระ แสนไชยสุริยา; Pattara Sanchaisuriya; พิมพา เทพวัลย์; Pimpa Thepphawan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)การรักษาผู้ป่วยภาวะสมองขาดเลือดด้วย rtPA ในระยะเวลาไม่เกิน 3 ชั่วโมง หรือ 180 นาทีหลังเกิดอาการ จะเพิ่มโอกาสหายหรือดีขึ้นได้ แต่หากมารับการรักษาช้าอาจนำไปสู่การเกิดความพิการถาวรและเสียชีวิตได้ การศึกษาเชิงบรรยายนี้ ... -
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีผลต่อภาวะสุขภาพ: กรณีศึกษาแรงงานย้ายถิ่น
ดุษฎี อายุวัฒน์; Dusadee Ayuwat; ภัทระ แสนไชยสุริยา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)รายงานวิจัยเรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีผลต่อสุขภาวะสุขภาพกรณีศึกษาแรงงานย้ายถิ่น จึงทบทวนองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องในประเด็นขอบเขตนิยามการย้ายถิ่น แบบแผนการย้ายถิ่นของแรงงานอีสานและศึกษาประเด็นแรงย้ายถิ่นอีสานกับความยากจน ... -
ระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือดในจังหวัดอุบลราชธานี
พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ภัทระ แสนไชยสุริยา; Pattara Sanchaisuriya; พิมพา เทพวัลย์; Pimpa Thepphawan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)การรักษาผู้ป่วยภาวะสมองขาดเลือดด้วย rtPA ในระยะเวลาไม่เกิน 3 ชั่วโมง หรือ 180 นาทีหลังเกิดอาการ จะเพิ่มโอกาสหายหรือดีขึ้นได้ แต่หากมารับการรักษาช้าอาจนำไปสู่การเกิดความพิการถาวรและเสียชีวิตได้ การศึกษาเชิงบรรยายนี้ ... -
ระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือดในจังหวัดอุบลราชธานี
พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ภัทระ แสนไชยสุริยา; Pattara Sanchaisuriya; พิมพ์นิชา เทพวัลย์; Pimnicha Thepphawan (2559-09)การรักษาผู้ป่วยภาวะสมองขาดเลือดด้วย rtPA ในระยะเวลาไม่เกิน 3 ชั่วโมง หรือ 180 นาทีหลังเกิดอาการ จะเพิ่มโอกาสหายหรือดีขึ้นได้ ตรงกันข้าม การมารับการรักษาช้าอาจจะนำไปสู่การเกิดความพิการถาวรหรือเสียชีวิตได้ การศึกษาเชิงบรรยายนี้ ... -
สถานการณ์ ศักยภาพ และความพร้อมของไตรภาคี ในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนในพื้นที่ 12 ตำบล
สุพัตรา ศรีวณิชชากร; เกษม เวชสุทธานนท์; วินัย ลีสมิทธิ์; ทัศนีย์ ญาณะ; อรอนงค์ ดิเรกบุษราคม; ภัทระ แสนไชยสุริยา; รวีวรรณ เผ่ากัณหา; พงค์เทพ สุธีรวุฒิ; สิรินาฏ นิภาพร; พฤกษา บุกบุญ; Supattra Srivanichakorn; Kasem Vechasuthanon; Winai Leesmith; Tassanee Yana; Onanong Direkbussarakom; Pattara Sanchaisuriya; Raviwan Paokanha; Pongtep Suthirawuth; Sirinat Nipaporn; Praksa Bookboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความพร้อมและศักยภาพขององค์กรปกครองท้องถิ่น ชุมชน และเครือข่ายหน่วยบริการสาธารณสุขในระดับปฐมภูมิ ซึ่งเป็นไตรภาคีในการทำงานด้านสุขภาพของพื้นที่ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาแนวทางและบทบาทการร่วม ... -
สถานการณ์ ศักยภาพ และความพร้อมของไตรภาคีในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนในพื้นที่ 12 ตำบล
สุพัตรา ศรีวณิชชากร; เกษม เวชสุทธานนท์; วินัย ลีสมิทธิ์; ทัศนีย์ ญาณะ; สิรินาฏ นิภาพร; พฤกษา บุกบุญ; ภัทระ แสนไชยสุริยา; รวีวรรณ เผ่ากัณหา; อรอนงค์ ดิเรกบุษราคม; พงค์เทพ สุธีรวุฒิ (สำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2553-10) -
สถานการณ์และประเด็นสุขภาพแรงงานอีสาน
ดุษฎี อายุวัฒน์; Dusadee Ayuwat; ภัทระ แสนไชยสุริยา; Pattara Sanchaisuriya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นภูมิภาคที่มีการย้ายถิ่นแรงงานมาก จึงก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพ สังคม ตลอดจนมีผลกระทบต่อสุขภาวะทั้งปัจเจกบุคคล ครัวเรือน และชุมชน บทความนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอสถานการณ์ ... -
สรุปบทเรียนการดำเนินงาน สำนักงานสนับสนุนการวิจัยระบบสุขภาพ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (สวรส.อีสาน) ปี พ.ศ. 2547-2551
ภัทระ แสนไชยสุริยา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-09)มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) โดยแผนงานวิจัยพื้นที่ ได้จัดตั้ง สำนักงานสนับสนุนการวิจัยระบบสุขภาพ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (สวรส.อีสาน) ซึ่งเป็นความร่วมมืออย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 ...