เลือกตามผู้แต่ง "ยุวยงค์ จันทรวิจิตร"
แสดงรายการ 1-9 จาก 9
-
การกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่
ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร; Chatchavan Janvijit; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร; ศิวพร อึ้งวัฒนา; นงเยาว์ อุดมวงศ์; จิตนธี เขนย; นุชยงค์ เยาวพานนท์; มลวิภา ศิริโหราชัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดขอบเขตและแนวทางการศึกษาผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เป็นการนำผลการศึกษ ... -
การศึกษาระบบบริการสุขภาพด้านการใช้ยาในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระดับปฏิบัติการในมุมมองของผู้ให้บริการและผู้รับบริการ
อุไรวรรณ ชัยชนะวิโรจน์; Uraiwan Chaichanawirote; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร; Yuwayong Juntarawijit; ณิชกานต์ ทรงไทย; Nichakarn Songthai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)ความร่วมมือในการรักษาด้วยยามีความสำคัญต่อการควบคุมการดำเนินโรคของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การส่งเสริมความร่วมมือในระดับปฏิบัติการเป็นกลไกสำคัญของการรักษาและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้ป่วย การวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผส ... -
ตัวชี้วัดและการเฝ้าระวังผลกระทบสุขภาพประชาชนในบริเวณโรงไฟฟ้าแม่เมาะ
ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร; อะเคื้อ อุณหเลขกะ; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร; Chudchawal Juntarawijit; Akeau Unahalekhaka; Yuwayong Juntarawijit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)โรงไฟฟ้าและเหมืองถ่านหินโรงไฟฟ้าแม่เมาะ อาจทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ แต่ในปัจจุบันยังไม่มีระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่อาศัยในบริเวณใกล้เคียงโรงไฟฟ้า การศึกษานี้เพื่อกำหนดตัวชี้วัดและแนวทางก ... -
ผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินแบบเปิด การกำหนดขอบเขตและแนวทางศึกษา
ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร; นงเยาว์ อุดมวงศ์; มลวิภา ศิริโหราชัย; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร; จิตนธี เขนย; ศิวพร อึ้งวัฒนา; นุชยงค์ เยาวพานนท์; Chudchawal Juntarawijit; Yuwayong Juntarawijit; Sivaporn Aungwattana; Nongyao Udomvong; Jitnatee Kaney; Nootchayong Yaowapanon; Monvipa Sirihorachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)การทำเหมืองถ่านหินอาจสร้างผลกระทบต่อสุขภาพได้หลายประการ ปัจจุบันยังขาดแนวทางการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพจากโครงการประเภทนี้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดขอบเขตและแนวทางการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินแบบเปิด ... -
ระบบเฝ้าระวังผลกระทบทางสุขภาพของประชาชนที่อาศัยในพื้นที่บริเวณโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร; อะเคื้อ อุณหเลขกะ; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร (ชุดโครงการวิจัยเพื่อพัฒนานโยบายและขับเคลื่อนระบบสุขภาพและสิ่งแวดล้อม, 2552-11-12) -
ระบบเฝ้าระวังผลกระทบทางสุขภาพของประชาชนที่อาศัยในพื้นที่บริเวณโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร; อะเคื้อ อุณหเลขกะ; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-10)โรงไฟฟ้าแม่เมาะ เป็นโรงไฟฟ้าจากถ่านหินขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศ ในแต่ละปีโรงไฟฟ้าแม่เมาะต้องเผาถ่านหินเพื่อผลิตความร้อนสำหรับนำไปใช้ในกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าถึงประมาณ 17 ล้านตัน ถ่านหินที่ใช้ได้มาจากเหมืองถ่านหินแม่เมาะซึ่ ... -
ระบบเฝ้าระวังผลกระทบทางสุขภาพของประชาชนที่อาศัยในพื้นที่บริเวณโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร; อะเคื้อ อุณหเลขกะ; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร; Chudchawal Juntarawijit (คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552-11-12)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมการพัฒนาระบบสุขภาพและสิ่งแวดล้อม จัดโดย ชุดโครงการวิจัยเพื่อพัฒนานโยบายและขับเคลื่อนระบบสุขภาพและสิ่งแวดล้อม โดยการสนับสนุนของ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤศจิกายน 2552 ... -
วิถีชุมชนของประชาชนเวียงแหง
ยุวยงค์ จันทรวิจิตร; Yuwayong Juntarawijit; นงเยาว์ อุดมวงศ์; ศิวพร อึ้งวัฒนา; จิตนธี เขนย; นุชยงค์ เยาวพานนท์; มลวิภา ศิริโหราชัย; ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)โครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นโครงการทำเหมือนถ่านหินลิกไนต์ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ) โครงการนี้อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและสร้างผลกระทบต่อชุมชนในพื้นที่ในหลายด้าน ทั้งผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ... -
สถานการณ์ระบบริการสุขภาพและวิสัยทัศน์ระบบสุขภาพไทย : มุมมองของพยาบาล
ประคิณ สุจฉายา; Prakin Suchaxaya; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร; วารุณี ฟองแก้ว; จุฑามาศ โชติบาง; สุกัญญา ปริสัญญกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่เน้นการจัดกระบวนการการมีส่วนร่วมของพยาบาลในการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาระบบบริการสุขภาพ วิสัยทัศน์เกี่ยวกับระบบสุขภาพไทยและบทบาทของพยาบาลและสร้างความตระหนักในการมีส่วนร่วมในการปฏิรูประบบสุขภาพ ...