เลือกตามผู้แต่ง "รุจิภาส สิริจตุภัทร"
แสดงรายการ 1-7 จาก 7
-
การขยายมาตรการสนับสนุนและส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมในโรงพยาบาลในประเทศไทย
ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์; Pinyo Rattanaumpawan; พรพรรณ กู้มานะชัย; Pornpan Koomanachai; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; วลัยพร วังจินดา; Walaiporn Wangchinda (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-15)การติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ในปี ค.ศ. 2015 องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้ Global Antimicrobial Resistance Surveillance System (GLASS) และดำเนินการส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ... -
การดำเนินงานชุดโครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก
วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul; ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์; Pinyo Rattanaumpawan; อธิรัฐ บุญญาศิริ; Adhiratha Boonyasiri; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; ศศิ เจริญพจน์; Sasi Jaroenpoj (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยได้ดำเนินการ 10 กิจกรรม ในการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก ได้แก่ 1) ประมาณการขนาดปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ... -
การศึกษาประสิทธิภาพของยาไอเวอร์เมคตินเปรียบเทียบกับยาไฮด้อกซี่คลอโรควินร่วมกับดารุนาเวียร์/ริโตนาเวียร์ในการลดระยะเวลาการตรวจพบเชื้อ SAR-CoV2 จากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจของผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ที่ไม่แสดงอาการ
ยุพิน ศุพุทธมงคล; Yupin Suputtamongkol; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; สุสัณห์ อาศนะเสน; Susan Assanasen; เมธี ชยะกุลคีรี; Methee Chayakulkeeree; ณสิกาญจน์ อังคเศกวินัย; Nasikarn Angkasekwinai; เสาวลักษณ์ ศิลปสาคร; Saowaluk Silpasakorn; เอกรัฐ วงศ์สวัสดิ์; Ekkarat Wongsawat; เดชาธร รัศมีกุลธนา; Dechatorn Rassamekulthana; ณัฐวุฒิ รุ่งเกียรติ์เตชากร; Nuttawut Rongkiettechakorn; เอนก มุ่งอ้อมกลาง; Anek Mungaomklang; สิรีธร นิมิตวิไล; Sireethorn Nimitvilai; อุษณีย์ พูลวิวัฒน์ชัยการ; Ussanee Poolvivatchaikarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)การวิจัยแบบสุ่ม ไม่ปกปิด ในผู้ติดเชื้อ SARS-CoV-2 ซึ่งไม่มีอาการหรือมีอาการไม่รุนแรง เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของยาไอเวอร์เมคตินขนาดสูง (600 ไมโครกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม) วันละครั้งนาน 3 วัน (กลุ่ม A) จำนวน 57 ราย ... -
การใช้ยาฟาวิพิราเวียร์เทียบกับการรักษาแบบประคับประคองในผู้ป่วยโควิด 19 ที่มีอาการไม่หนักและยังไม่มีภาวะปอดอักเสบ
รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; ยุพิน ศุพุทธมงคล; Yupin Suputtamongkol; ยงค์ รงค์รุ่งเรือง; Yong Rongrungruang; เมธี ชยะกุลคีรี; Methee Chayakulkeeree; ณสิกาญจน์ อังคเศกวินัย; Nasikarn Angkasekwinai; โกวิท พัฒนาปัญญาสัตย์; Kovit Pattanapanyasat; จตุรงค์ เสวตานนท์; Jaturong Sewatanon; สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham; สุสัณห์ อาศนะเสน; Susan Assanasen; กษมา สุขาภิรมย์; Kasama Sukapirom; มาโนช รัตนสมปัตติกุล; Manoch Rattanasompattikul; กนก วงศ์สวัสดิ์; Kanok Wongsawad; วีรวัฒน์ มโนสุทธิ; Weerawat Manosuthi; ลัลธริตา เจริญพงษ์; Lantharita Charoenpong; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; Nuanjun Wichukchinda; อิงอร ประสารชัยมนตรี; Ing-orn Prasanchaimontri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)ยาฟาวิพิราเวียร์ เป็นยาต้านที่มีกลไกออกฤทธิ์ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ RNA-dependent RNA polymerase และน่าจะมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อโควิด-19 ได้ เนื่องด้วยในสถานการณ์การระบาดของเชื้อมีความเป็นไปได้ว่าจะพบผู้ติดเชื้อมากขึ้นเรื่อยๆ ... -
ความชุกและอุบัติการณ์ของการติดเชื้อด้วยการตรวจทางซีโรโลยีและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อ SARS-CoV-2 ในบุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้าที่ดูแลผู้ป่วย เปรียบเทียบกับบุคลากรทางการแพทย์ที่ไม่ได้ดูแลผู้ป่วย COVID-19 ในสถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 ภายในโรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร
ณสิกาญจน์ อังคเศกวินัย; Nasikarn Angkasekwinai; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; อรศรี วิทวัสมงคล; Orasri Wittawatmongkol; จตุรงค์ เสวตานนท์; Jaturong Sewatanon; โกวิท พัฒนาปัญญาสัตย์; Kovit Pattanapanyasat; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; วินัย รัตนสุวรรณ; Winai Ratanasuwan; สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)หลักการและเหตุผล บุคลากรทางการแพทย์ที่ทำงานด่านหน้า เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงที่มีโอกาสติดเชื้อโควิด ทำให้มีโอกาสต้องตรวจสวอปบ่อยครั้ง การตรวจด้วยวิธีทางซีโรโลยี ทำได้ง่ายและสามารถใช้ในการเฝ้าระวังได้ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสง ... -
ประสิทธิภาพของสเปรย์ โพวิโดน ไอโอดีน สำหรับการกำจัดเชื้อไวรัสโคโรนาในทางเดินหายใจส่วนบนของผู้ป่วยโควิด-19: โครงการนำร่อง
รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; อมร ลีลารัศมี; Amorn Leelarasamee; ธนพัฒน์ พวงเพชร; Thanapat Puangpet; อรุณี ธิติธัญญานนท์; Arunee Thitithanyanont (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09-19)การแพร่กระจายของโรคโควิด-19 ทำให้ประชาชนมีความวิตกกังวลและป้องกันการติดเชื้อโดยการสวมหน้ากากอนามัย เว้นระยะห่างตามวิถีชีวิตใหม่ หากมียาที่สามารถทำลายเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ที่สะสมอยู่ในช่องปากและเยื่อบุจมูกได้รวดเร็วและออ ... -
โควิด-19 ในบุคลากรทางการแพทย์ในประเทศไทย
รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; อมร ลีลารัศมี; Amorn Leelarasamee; นาวิน ห่อทองคำ; Navin Horthongkham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10-28)โควิด-19 มีการระบาดทั่วโลก ซึ่งบุคลากรทางการแพทย์จัดเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงสำหรับการติดเชื้อซาร์โควี-2 แต่ข้อมูลการป่วยเป็นโควิด-19 ของบุคลากรทางการแพทย์ในประเทศไทยยังมีจำกัด วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ คือ เพื่อทราบอ ...