เลือกตามผู้แต่ง "ลัดดา ดำริการเลิศ"
แสดงรายการ 1-9 จาก 9
-
การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล : การจัดการระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กรณีเบาหวานและความดันโลหิตสูง
สุพัตรา ศรีวณิชชากร; สตางค์ ศุภผล; ทัศนีย์ ญาณะ; รัชดา พิพัฒน์ศาสตร์; อรอนงค์ ดิเรกบุษราคม; ผการัตน์ ฤทธิ์ศรีบุญ; พฤกษา บุกบุญ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-11)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ โดยเป็นแผนงานวิจัยหนึ่งที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง มีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) เป็นกลไกสำคัญ เมื่อรัฐบาลมีนโยบายในกา ... -
การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล : แนวทางการดูแลรักษาภาวะซึมเศร้าและผู้มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
อัมพร เบญจพลพิทักษ์; ลัดดา ดำริการเลิศ; ธรณินทร์ กองสุข; ธนเนตร ฉันทลักษณ์วงศ์; สุรพันธ์ ปราบกรี; พัชรินทร์ ศิริวิสุทธิรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-11)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ โดยเป็นแผนงานวิจัยหนึ่งที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง มีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) เป็นกลไกสำคัญ เมื่อรัฐบาลมีนโยบายในกา ... -
การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล : แนวปฏิบัติในการบริการผู้สูงอายุ
ลัดดา ดำริการเลิศ; วรรณภา ศรีธัญรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ โดยเป็นแผนงานวิจัยหนึ่งที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง มีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) เป็นกลไกสำคัญ เมื่อรัฐบาลมีนโยบายในกา ... -
การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล:ประสบการณ์การทำงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ
วัชรา ริ้วไพบูลย์; ปัทมา ศิริเวช; พรรณพิมล วิปุลากร; ชาติชาย มุกสง; แพรว เอี่ยมน้อย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ โดยเป็นแผนงานวิจัยหนึ่งที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง มีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) เป็นกลไกสำคัญ เมื่อรัฐบาลมีนโยบายในกา ... -
การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล:แนวทางการดูแลสุขภาพวัยรุ่น
อัมพร เบญจพลพิทักษ์; ลัดดา ดำริการเลิศ; อมรากุล อินโอชานนท์; อรวรรณ ดวงจันทร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ โดยเป็นแผนงานวิจัยหนึ่งที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง มีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) เป็นกลไกสำคัญ เมื่อรัฐบาลมีนโยบายในกา ... -
การพัฒนากรอบและแนวทางการพัฒนามาตรฐานบริการดูแลผู้สูงอายุในสถานบริการ
ลัดดา ดำริการเลิศ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-02)การศึกษานี้เป็นการรวบรวมและสังเคราะห์องค์ความรู้ระบบบริการดูแลผู้สูงอายุในสถานบริการหรือสถาบัน จากเอกสารทางวิชาการ ประสบการณ์สถานบริการหรือสถาบันที่เป็นแนวทางการปฏิบัติในประเทศไทย และจากการศึกษาดูงานสถานบริการหรือสถาบัน ... -
การสร้างขีดความสามารถสำหรับการวิจัยนโยบายและระบบสุขภาพในประเทศไทย
จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; อดุลย์ โมฮารา; Adun Mohara; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ลัดดา ดำริการเลิศ; Ladda Damrikarnlerd; สุวรรณี ละออปักษิณ; Suwannee Laoopugsin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)การสร้างขีดความสามารถของการวิจัยนโยบายและระบบสุขภาพนั้นมีความสำคัญในการสนับสนุนให้เกิดศักยภาพที่จำเป็นสำหรับการบรรลุเป้าหมายทางด้านสุขภาพที่ตั้งไว้ ปัจจุบันการวิจัยนโยบายและระบบสุขภาพส่วนหนึ่งประสบกับปัญหาอันเนื่องมาจากผ ... -
คู่มือการให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ชูชัย ศุภวงศ์; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; ลัดดา ดำริการเลิศ; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; เกษม เวชสุทธานนท์ (กระทรวงสาธารณสุขสำนักหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-09)นโยบายด้านสาธารณสุขดังกล่าวได้รับการขานรับจากผู้คนในแวดวงสุขภาพ อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะนักวิชาการและนักวิจัยระบบสาธารณสุข ตลอดจนผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน สถานีอนามัย เพราะเห็นว่าการพัฒนารพ.สต. เป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญใ ... -
ระบบการดูแลระยะยาวและกำลังคนในการดูแลผู้สูงอายุ : ทิศทางประเทศไทย
ศศิพัฒน์ ยอดเพชร; ศิริพันธุ์ สาสัตย์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; ลัดดา ดำริการเลิศ; อุบล หลิมสกุล; นงลักษณ์ พะไกยะ (แผนงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2552-01)สังคมไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้วอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุ (อายุมากว่า 60 ปี) ในปัจจุบันมากกว่าร้อยละ 10 และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลา จึงเป็นสิ่งสำคัญที่สังคมไทยต้องเริ่มมีการเตรียมค ...