เลือกตามผู้แต่ง "วรัญญา รัตนวิภาพงษ์"
แสดงรายการ 1-7 จาก 7
-
การประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์ของการรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอุดตันระยะเฉียบพลันผ่านสายสวนหลอดเลือดด้วยวิธี endovascular treatment ในประชากรไทย
วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; Waranya Rattanavipapong; บุสดี โสบุญ; Budsadee Soboon; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ยงชัย นิละนนท์; Yongchai Nilanont; ธนบูรณ์ วรกิจธำรงค์ชัย; Thanaboon Worakijthamrongchai; มนันชยา กองเมืองปัก; Mananchaya Kongmuangpuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (Health Intervention and Technology Assessment Program, HITAP) ได้รับมอบหมายจากคณะอนุกรรมการพัฒนาสิทธิประโยชน์และระบบบริการ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ให้ดำเนินการศึกษาวิจัยในหัวข้อ ... -
การประเมินผลลัพธ์ของการดำเนินมาตรการสร้างเสริมสุขภาพ : การพัฒนาแนวทางการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ สสส. โดยใช้ข้อมูลจากการศึกษาต้นทุนความเจ็บป่วย
มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; ทิวารัตน์ วุฒิศรัย; พัทธรา ลีฬหวรงค์; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; ปรียานุช ดีบุกคำ; วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; รุ่งนภา คำผาง; ทรงยศ พิลาสันต์; รักมณี บุตรชน; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2554-07)การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ด้วยการวิเคราะห์ต้นทุนผลได้ (Cost-Benefit Analysis) ... -
การพัฒนาแนวทางการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของ สสส. โดยใช้ข้อมูลจากการศึกษาต้นทุนความเจ็บป่วย
มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; ทิวารัตน์ วุฒิศรัย; พัทธรา ลีฬหวรงค์; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; ปรียานุช ดีบุกคำ; วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; รุ่งนภา คำผาง; ทรงยศ พิลาสันต์; รักมณี บุตรชน; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2554)การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของ สสส. ด้วยการวิเคราะห์ต้นทุน-ผลได้ (Cost-benefit analysis) โดยการนำข้อมูลจากการวิเคราะห์ต้นทุนความเจ็บป่วยด้วย ... -
การศึกษาต้นทุนดำเนินงานแผนหลักของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
พัทธรา ลีฬหวรงค์; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; รุ่งนภา คำผาง; วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; ทรงยศ พิลาสันต์; สุรสันต์ วิเวกเมธากร; รักมณี บุตรชน; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2554)เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นสิ่งที่ระบบสุขภาพทั่วโลกควรให้ความสำคัญเพราะนอกจากจะทำให้ประชากรมีสุขภาพดี ยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาและฟื้นฟูสภาพ อย่างไรก็ตามในปัจจุบันมีเพียงไม่กี่ป ... -
การศึกษาวิจัยการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของยา เพื่อประกอบการพิจารณาคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ 2558
พิศพรรณ วีระยิ่งยง; วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; ธันธิมา สุวรรณถาวรกุล; ทรงยศ พิลาสันต์; ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; ยศ ตีระวัฒนานนท์; โรงพยาบาลราชวิถี งานประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กลุ่มงานวิจัยและประเมินเทคโนโลยี; สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย; ณัฏฐิญา ค้าผล; สาวิณี โชคเฉลิมวงศ์; เอมิกา วิรุฬห์พอจิตร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติแต่งตั้งคณะทำงานด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข เพื่อจัดทำข้อมูลเภสัชเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของรายการยาที่จะเกิดขึ้น หากมีการบรรจุรายการยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ สำหรับใช้เป็นข้อมูลป ... -
การเพิ่มการเข้าถึงยาราคาแพงในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2551 : จากนโยบายสู่การปฏิบัติ
เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; รุ่งนภา คำผาง; พัทธรา ลีฬหวรงค์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Saowalak Turongkaravee; Waranya Rattanavipapong; Roongnapa Khampang; Pattara Leelahavarong; Yot Teerawattananon; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษากระบวนการนำนโยบายเพิ่มการเข้าถึงยาราคาแพงในบัญชียา จ (2) ของบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2551 ไปสู่การปฏิบัติโดยโครงการประกันสุขภาพภาครัฐ ได้แก่ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โครงการสวัสดิการรักษาพย ... -
รูปแบบบริการให้คำปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรทั่วไป
วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; Waranya Rattanavipapong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)องค์กรในต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับเอชไอวี/เอดส์ได้ออกคำแนะนำสำหรับการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรทั่วไปจนถึงอายุ ๖๕ ปี เพื่อแก้ปัญหาและควบคุมสถานการณ์โรคเอดส์ แต่อุปสรรคและข้อท้าทาย คือ การถูกตีตรา การถูกแบ่งแยก ...