เลือกตามผู้แต่ง "วินัย ลีสมิทธิ์"
แสดงรายการ 1-20 จาก 24
-
Mind the gap สู่ความเป็นธรรมด้านสุขภาพ : สวรส. ปลดเงื่อนตาย คลายปมคิด กระจายอำนาจด้านสุขภาพ จากบทเรียนสู่ทางออก
จรวยพร ศรีศศลักษณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-01)เวทีวิชาการสู่ความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ครั้งที่ 1 “10 ปี การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ : สังเคราะห์บทเรียนเพื่อค้นหาทางออกร่วมกัน” ที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2553 ณ ห้องอบรมสถาบันพระปกเกล้า เป็นกิจกรรมทางวิชาการของแผนงานวิ ... -
กรณีศึกษาเปรียบเทียบระบบดูแลผู้ป่วยภาวะไตวายเรื้อรัง อำเภอคลองขลุง จ.กำแพงเพชร และ อำเภอกงหรา จ.พัทลุง
ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; เกศทิพย์ บัวแก้ว; Kadethip Buakaew; สุดา ขำนุรักษ์; Suda Khumnurak; กวิน กลับคุณ; Kavin Klubkun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-12)การขยายชุดสิทธิประโยชน์ความคุ้มครองแก่ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตั้งแต่ พ.ศ. 2550 เป็นต้นมานั้น มีผู้ป่วยเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในขณะที่ความไม่เท่าเทียมในการเข้าถึงบริการทด ... -
กระจายอำนาจแบบเขตสุขภาพ
วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt (โรงพยาบาลคลองขลุง, 2553-12-01)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุม 10 ปี การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ : สังเคราะห์บทเรียนเพื่อหาทางออกร่วมกัน วันพุธที่ 1 ธันวาคม 2553 เวลา 08.30-15.30 น. ณ ห้องอบรมสถาบันพระปกเกล้า ชั้น 5 อาคารจอดรถ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ -
กลไกเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่นโยบายด้านสุขภาพและการค้าระหว่างประเทศ: กรณีศึกษาคณะกรรมการสนับสนุนการศึกษาและติดตามการเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายสุขภาพ (คจคส.)
วีระ หวังสัจจะโชค; Weera Wongsatjachock; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ชินวัฒน์ หรยางกูร; Shinawat Horayangkura; นพพล ผลอำนวย; Noppon Phon-amnuai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)บทความวิจัยฉบับนี้มุ่งศึกษาการทำงานของคณะกรรมการสนับสนุนการศึกษาและติดตามการเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายสุขภาพ (คจคส.) ในฐานะกลไกเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่นโยบาย เพื่อวิเคราะห์การดำเนินการและพิจารณ ... -
การบริหารระบบสุขภาพแบบเขตพื้นที่
วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt (โรงพยาบาลคลองขลุง, 2555-03)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร -
การประเมินระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในช่วงทศวรรษแรก 2544-2553
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; จิรบูรณ์ โตสงวน; นุชรี ศรีวิโรจน์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; วินัย ลีสมิทธิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; นุศราพร เกษสมบูรณ์; บุญชัย กิจสนาโยธิน; ครรชิต สุขนาค; จเด็จ ธรรมธัชอารี; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สงครามชัย ลีทองดี; Hughes, David (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)ทำการประเมินในปี พ. ศ. 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และ ประเมินว่าการปฏิรูปในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีประเด็นใดบ้างที่ประสบผลสำเร็จ และประเด็นใดบ้างที่ไม่ประสบผลสำเร็จ ... -
การพัฒนาข้อเสนอรูปแบบและโครงสร้างการบริหารเขตสุขภาพ
วินัย ลีสมิทธิ์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-02-28)วัตถุประสงค์และวิธีการศึกษา การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการได้แก่ (๑)ค้นหารูปแบบจำลององค์ประกอบและบทบาทเขตสุขภาพ รวมทั้งทางเลือกฉากทัศน์ (scenarios) การพัฒนาในอนาคต (๒)พัฒนารูปแบบจำลององค์ประกอบและบทบาทหน้าที่ของคณะกร ... -
การวิจัยและพัฒนาการบริหารจัดการระบบสาธารณสุขในระดับพื้นที่ ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
วินัย ลีสมิทธิ์; สงครามชัย ลีทองดี; วรรณภา บำรุงเขต; สุธีรดา ฉิมน้อย (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2554-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนารูปแบบเขตสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับบริบทประเทศไทย โดยกำหนดวัตถุประสงค์เฉพาะไว้ 4 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาแนวคิดและความเข้าใจเรื่องเขตสุขภาพที่ถูกต้อง (2) หารูปแบบการอภิบาลระบบเขตสุขภาพ ... -
การศึกษาการจัดตั้งหน่วยงานประสานงานกลางเพื่อการจัดการระบบหลักประกันสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่คนไทย
วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; นพพล ผลอำนวย; Noppon Phon-amnuai; วีระ หวังสัจจะโชค; Weera Wongsatjachock; เอกวีร์ มีสุข; Eakkawee Meesuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-11)รายงานวิจัยฉบับนี้มีเป้าหมายในการศึกษาสามประการ ประการแรก เพื่อทบทวนประสบการณ์สร้างหลักประกันสุขภาพแก่แรงงานต่างด้าวในต่างประเทศและสถานการณ์การดำเนินงานหลักประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวและบุคคลไม่ใช่คนไทยในประเทศไทย ประการที่สอง ... -
การสังเคราะห์ทางเลือกของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพเขตเมืองของประเทศไทย: กรณีศึกษาเขตสุขภาพที่ 3
ภูดิท เตชาติวัฒน์; Phudit Tetjativaddhana; รมย์นลิน ทองหล่อ; Romnalin Thonglor; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ทวีศักดิ์ นพเกษร; Tawesak Nopkesorn; พัชรินทร์ สิรสุนทร; Patcharin Sirasoonthorn; อภิชาต วิสิทธิ์วงษ์; Apichart Wisitwong; ไพฑูรย์ อ่อนเกตุ; Paitoon Ongate (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ทางเลือกของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพเขตเมือง เขตสุขภาพที่ 3 โดยศึกษาเฉพาะระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง ของอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ และของอำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ... -
การสังเคราะห์ทางเลือกของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพเขตเมืองเขตสุขภาพที่ 3
ภูดิท เตชาติวัฒน์; Phudit Tejativaddhana; อภิชาต วิสิทธิ์วงษ์; Apichart Wisitwong; ไพฑูรย์ อ่อนเกตุ; Paitoon Ongate; พัชรินทร์ สิรสุนทร; Patcharin Sirasoonthorn; ทวีศักดิ์ นพเกษร; Tawesak Nopkesorn; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Lee-smidt; ครรชิต สุขนาค; Kanchit Sooknark (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-11)การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ทางเลือกของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพเขตเมือง เขตสุขภาพที่ 3 โดยศึกษาเฉพาะระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดกำแพงเพชร เก็บข้อมูลโดยการทบทวนเอกสาร ... -
การอภิบาลบทบาทการซื้อบริการในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าไทย
บัลลังก์ อุปพงษ์; Ballang Uppapong; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การศึกษานี้เพื่อประเมินการอภิบาลและการจัดการสำหรับซื้อบริการสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพโดยการทบทวนวรรณกรรมและเอกสารที่เกี่ยวข้อง การรับฟังบรรยายสรุปจากเจ้า ... -
ความเป็นธรรมด้านสุขภาพในผู้สูงอายุไทยภายใต้สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ
เมธิณี อินทรเทศ; Methinee Intarates; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ธีรพล ทิพย์พยอม; Teerapon Dhippayom; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)ภูมิหลังและเหตุผล: ความเป็นธรรมทางสุขภาพ คือ การปราศจากช่องว่างเชิงระบบในการจัดสรรทรัพยากร การเข้าถึงและการใช้บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุมีโอกาสเป็นโรคเรื้อรังประเภทโรคไม่ติดต่อ (non-communicable diseases: NCDs) หลายโรคร่วมกันได้สูง ... -
นโยบายการกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและพรบ.สุขภาพแห่งชาติกับการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทย
วินัย ลีสมิทธิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
บทบาทที่เหมาะสมของกระทรวงสาธารณสุขภายใต้การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข
วินัย ลีสมิทธิ์; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-10)ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2542 กระทรวงสาธารณสุขได้ถ่ายโอนสถานีอนามัยจำนวน 28แห่งแก่อปท.จำนวน 28 แห่ง มีทั้งประสบผลสำเร็จและล้มเหลว อปท.ส่วนใหญ่ยอมรับว่าขาดศักยภาพทั้งด้านการจัดการและการเงิน เป็นเรื่องจำเป็นที่กระทรวงสาธารณสุขต้องหาท ... -
บทบาทและทางเลือกที่เหมาะสมของกระทรวงสาธารณสุข ภายหลัง 10 ปี ของการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ
วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)ระยะ 10 ปีที่ผ่านมานั้น กระทรวงสาธารณสุขได้ถ่ายโอน 7 ภารกิจและสถานีอนามัย (สอ.) กว่า 30 แห่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีทั้งที่ประสบผลสำเร็จและล้มเหลว กระทรวงสาธารณสุขควรจะทบทวนกระบวนการถ่า ... -
ปลดเงื่อนตาย คลายปมคิด
ปรีดา แต้อารักษ์; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; สายศิริ ด่านวัฒนะ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 และ 2550 รวมทั้งพระราชบัญญัติกำหนด แผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กำหนดให้มีการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีแผนดำเนินการถ่ายโอ ... -
ปัจจัยการอภิบาลระบบที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินงานเขตสุขภาพเพื่อประชาชนของประเทศไทย
สุมาลี เฮงสุวรรณ; Sumalee Hengsuwan; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาระดับการอภิบาลระบบของเขตสุขภาพเพื่อประชาชน บทบาทสำคัญของคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน (กขป.) ในการอภิบาลระบบและ จัดกลุ่มการอภิบาลระบบของเขตสุขภาพเพื่อประชาชนทั้งประเทศ ... -
ระบบบริหารงานโรงพยาบาลรัฐกับโรงพยาบาลเอกชน : การบริหารจัดการทางการเงินและธุรกิจสำหรับโรงพยาบาลรัฐที่จะบริหารอย่างอิสระ
ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ชาญวิทย์ ทระเทพ; จเด็จ ธรรมธัชอารี; วินัย ลีสมิทธิ์; Chanvit Tharathep; Jadej Thammatacharee; Vinai Leesmidt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)Management of public and private hospitals : financial and business apportunities for the autonomous hospitalsThe aim of this research was to compare the managerial systems between the sampled public and private hospitals ... -
สถานการณ์ ศักยภาพ และความพร้อมของไตรภาคี ในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนในพื้นที่ 12 ตำบล
สุพัตรา ศรีวณิชชากร; เกษม เวชสุทธานนท์; วินัย ลีสมิทธิ์; ทัศนีย์ ญาณะ; อรอนงค์ ดิเรกบุษราคม; ภัทระ แสนไชยสุริยา; รวีวรรณ เผ่ากัณหา; พงค์เทพ สุธีรวุฒิ; สิรินาฏ นิภาพร; พฤกษา บุกบุญ; Supattra Srivanichakorn; Kasem Vechasuthanon; Winai Leesmith; Tassanee Yana; Onanong Direkbussarakom; Pattara Sanchaisuriya; Raviwan Paokanha; Pongtep Suthirawuth; Sirinat Nipaporn; Praksa Bookboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความพร้อมและศักยภาพขององค์กรปกครองท้องถิ่น ชุมชน และเครือข่ายหน่วยบริการสาธารณสุขในระดับปฐมภูมิ ซึ่งเป็นไตรภาคีในการทำงานด้านสุขภาพของพื้นที่ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาแนวทางและบทบาทการร่วม ...