• การพัฒนานโยบายสุขภาพแรงงานข้ามชาติเพื่อตอบรับวิกฤติโรคระบาด: กรณีศึกษาไวรัสโควิด-19 

      ชลนภา อนุกูล; Cholnapa Anukul; ศยามล เจริญรัตน์; Sayamol Charoenratana; ศิววงศ์ สุขทวี; Siwawong Sooktawee; รัศมี เอกศิริ; Rutsamee Eksiri; ธัญชนก วรากรพัฒนกุล; Thanchanok Varakornpattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)
      การระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่ผ่านมาเป็นโอกาสดีที่สะท้อนให้เห็นความจำเป็นในการพัฒนานโยบายและมาตรการทางสุขภาพที่ครอบคลุมกลุ่มประชากรทุกกลุ่ม โครงการการพัฒนานโยบายสุขภาพแรงงานข้ามชาติเพื่อตอบรับวิกฤตโรคระบาด: กรณีศึกษาไวรัสโควิด-19 ...
    • การศึกษาสถานการณ์การใช้กัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย 

      สาวิตรี อัษณางค์กรชัย; Sawitri Assanangkornchai; กนิษฐา ไทยกล้า; Khanittha Thaikla; มูฮัมมัดฟาห์มี ตาเละ; Muhammad Fahmee Talib; สุชาดา ภัยหลีกลี้; Suchada Paileeklee; ศยามล เจริญรัตน์; Sayamol Charoenratana; ดาริกา ใสงาม; Darika Saingam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      นับตั้งแต่การออกพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ซึ่งบังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 และการนิรโทษการครอบครองกัญชา ตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ในวันที่ ...
    • การสำรวจพฤติกรรมการใช้กัญชาและสารเสพติดในประชากรไทย ผลกระทบจากกัญชาต่อความเป็นธรรมทางสุขภาพ และต้นทุนการเจ็บป่วยจากการใช้กัญชา 

      รัศมน กัลยาศิริ; Rasmon Kalayasiri; สุริยัน บุญแท้; Suriyan Boonthae; เกื้อการุณย์ ครูส่ง; Kuakarun Krusong; ภัททา เกิดเรือง; Phatta Kirdruang; ศยามล เจริญรัตน์; Sayamol Charoenratana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10-09)
      การนำพืชกัญชาออกจากบัญชียาเสพติดให้โทษประเภท 5 ในปี พ.ศ. 2565 โดยมีการอนุญาตให้ปลูก จำหน่าย และทำให้เกิดการใช้กัญชาได้ในประเทศไทยนอกหนือจากการใช้ทางการแพทย์ จำเป็นต้องมีการประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องถึงจำนวน ...
    • การสำรวจสถานการณ์แรงงานข้ามชาติในเมืองใหญ่และการส่งเสริมบทบาทภาคเอกชนในการพัฒนาระบบสุขภาพแรงงานข้ามชาติ 

      ศยามล เจริญรัตน์; Sayamol Charoenratana; ชลนภา อนุกูล; Cholnapa Anukul; จิตติพร ฉายแสงมงคล; Jittiporn Chaisaingmongkola; ศิววงศ์ สุขทวี; Siwawong Sooktawee; ธัญชนก วรากรพัฒนกุล; Thanchanok Varakornpattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      การย้ายถิ่นเป็นปรากฏการณ์ระดับโลก ปัจจุบันประเทศไทยเป็นประเทศปลายทางที่มีประชากรแรงงานข้ามชาติมากที่สุดในกลุ่มประเทศอาเซียน เมืองที่ดึงดูดแรงงานย้ายถิ่นจำนวนมากเป็นพื้นที่ของความท้าทายด้านสุขภาพ ในการรับมือจากโรคระบาดติด ...