เลือกตามผู้แต่ง "สุรัชดา ชนโสภณ"
แสดงรายการ 1-6 จาก 6
-
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจคัดกรองโรคไตเรื้อรังในผู้สูงอายุ
กฤษณี สระมุณี; Kritsanee Saramunee; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; พรชนก ศรีมงคล; Pornchanok Srimongkon; ภาณุมาศ ภูมาศ; Panumart Phumart; อารีรัตน์ ลีละธนาฤกษ์; Areerut Leelathanalerk; วิระพล ภิมาลย์; Wiraphol Phimarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)ภูมิหลังและเหตุผล: ไตเรื้อรัง (Chronic kidney disease, CKD) มีความชุกสูงในประเทศไทยและมีภาระค่าใช้จ่ายในการรักษามาก มีคำแนะนำว่าการคัดกรองความเสี่ยงของภาวะ CKD จะมีประโยชน์ อายุที่มากขึ้นถือเป็นปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่งของการเกิด ... -
การศึกษาความแตกต่างระหว่างสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลของบริการโรคหลอดเลือดสมองและผลลัพธ์ : การศึกษาเชิงปริมาณ
จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkoa; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chonsophon; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotpanit (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2557-05)โรคหลอดเลือดสมองสามารถสะท้อนการส่งเสริมสุขภาพ การคัดกรองโรค การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การให้บริการโรคฉุกเฉินและการให้การรักษาที่ทันท่วงที การดูแลรักษาในโรงพยาบาลต้องอาศัยการตรวจวินิจฉัย และยาที่มีราคาสูง หรือการผ่าตัดสมอง ... -
การศึกษาประสิทธิผลและการประเมินความคุ้มค่าการรักษาด้วยเครื่องพลาสมาเฟเรซิส
สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; ธนวรรณ ปรีพูล; Tanawan Preepul; ศิริรัตน์ อนุตระกูลชัย; Sirirat Anutrakulchai; จารุพร พรหมวงศ์; Jaruporn phromwong; เกษราพร วงษ์บา; Ketsaraporn Wongba; มนธรี สวโรจน์; Montaree Sawarojh; จิราวดี น้อยวัฒนกุล; Jirawadee Noiwattanakul; สหรัฐ อังศุมาศ; Saharat Aungsumart; เมธา อภิวัฒนากุล; Metha Apiwattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)Therapeutic Apheresis คือ การรักษาผู้ป่วยด้วยการแยกเอาส่วนประกอบที่อยู่ในเลือด เช่น เม็ดเลือดขาว น้ำเหลือง สารที่อยู่ในน้ำเหลืองซึ่งเป็นสาเหตุของโรคออกจากตัวผู้ป่วย จากการทบทวนวรรณกรรมอย่างรอบด้าน พบว่าข้อบ่งชี้ของการทำ ... -
การศึกษาเพื่อประเมินหัวข้อปัญหาหรือเทคโนโลยีด้านสุขภาพเพื่อประกอบการพิจารณาเป็นสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีพ.ศ. 2559-2560 (ภายใต้โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า)
ภูษิต ประคองสาย; กุมารี พัชนี; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; สุรัชดา ชนโสภณ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01)รายการหัวข้อปัญหาและเทคโนโลยีด้านสุขภาพที่ได้ทำการประเมินในระหว่างเดือนตุลาคม 2559 ถึง มกราคม 2561 เป็นหัวข้อที่มีความสำคัญและจำเป็นต้องมีการศึกษา เพื่อใช้ผลการศึกษาประกอบการพิจารณาเป็นชุดสิทธิประโยชน์ สำนักงานหลักประกัน ... -
การใช้บริการรักษาพยาบาลของคนไทยที่ไม่มีหรือไม่ทราบสิทธิประกันสุขภาพ
ประสิทธิ บุญเกิด; Prasit Boonkerd; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)การศึกษานี้วิเคราะห์การใช้บริการรักษาพยาบาลโรคทั่วไปของคนไทยในกลุ่มที่ไม่มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลใดๆ หรือไม่ทราบสิทธิ รวมถึงไม่ได้รับการขึ้นทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า วิเคราะห์ข้อมูลลักษณะทางประชากร เศรษฐฐานะ ... -
การใช้บริการรักษาพยาบาลแบบผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน และความจำเป็นทางสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนองของประชากรเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
จุฑาทิพ ทั่งทอง; Jutatip Thungthong; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; คุณากร เอี้ยวสุวรรณ; Kunakorn Aewsuwan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)แม้การบรรลุระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 จะช่วยให้คนไทยทั้งประเทศเข้าถึงบริการสุขภาพได้มากขึ้น แต่ประชากรกรุงเทพฯ ก็ยังคงมีปัญหาเข้าถึงการรักษาพยาบาลมากที่สุด เนื่องจากโครงสร้างพื้นฐานระบบบริการสุขภาพของกรุงเทพฯ ...