เลือกตามผู้แต่ง "อรอนงค์ วิชัยคำ"
แสดงรายการ 1-5 จาก 5
-
การศึกษาระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์โควิด-19: กรณีศึกษาโรงพยาบาลบุษราคัม
อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์; Apiradee Nantsupawat; อรอนงค์ วิชัยคำ; Orn-Anong Wichaikhum; กุลวดี อภิชาติบุตร; Kulwadee Abhicharttibutra; ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์; Thitinut Akkadechanunt; คัทลียา ศิริภัทรากูร แสนหลวง; Cattaliya Siripattarakul Sanluang; เกศราภรณ์ อุดกันทา; Kedsaraporn Udkunta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05-06)โรงพยาบาลบุษราคัมเป็นโรงพยาบาลสนามขนาดใหญ่เฉพาะด้านในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ชั่วคราวที่มีความทันสมัยในการดูแลผู้ป่วยครบวงจร ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต ตามมาตรฐานการรักษา รวมทั้งระบบการส่งต่อ อย่างไรก็ตามการศึกษาระบบบริหาร ... -
ข้อเสนอเชิงนโยบาย การบริหารกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรับมือการระบาดใหญ่ในหน่วยบริการปฐมภูมิในบริบทการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปองค์การบริหารส่วนจังหวัด
กุลวดี อภิชาติบุตร; Kulwadee Abhicharttibutra; อรอนงค์ วิชัยคำ; Orn-Anong Wichaikhum; อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์; Apiradee Nantsupawat; เกศราภรณ์ อุดกันทา; Kedsaraporn Udkunta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) การบริหารกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรับมือการระบาดใหญ่ในหน่วยบริการปฐมภูมิในบริบทการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีข้อเสนอเชิงนโยบาย ดังนี้ 1) กองสาธารณสุข ... -
ความท้าทายและข้อเสนอเชิงนโยบายในการบริหารกำลังคนด้านสุขภาพ เพื่อรับมือการระบาดใหญ่ในหน่วยบริการปฐมภูมิในบริบทการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปองค์การบริหารส่วนจังหวัด
กุลวดี อภิชาติบุตร; Kulwadee Abhicharttibutra; อรอนงค์ วิชัยคำ; Orn-Anong Wichaikhum; อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์; Apiradee Nantsupawat; เกศราภรณ์ อุดกันทา; Kedsaraporn Udkunta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)การระบาดเพิ่มขึ้นอย่างฉับพลันก่อให้เกิดความตึงเครียดต่อการบริการทางสุขภาพ กำลังคนด้านสุขภาพจึงเป็นบุคลากรสุขภาพด่านหน้าที่มีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์สถ ... -
ทัศนคติของบุคลากรสุขภาพต่อการให้บริการสุขภาพแก่คนต่างด้าวและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
อรอนงค์ วิชัยคำ; Orn-Anong Wichaikhum; กุลวดี อภิชาติบุตร; Kulwadee Abhicharttibutra; อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์; Apiradee Nantsupawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-01)การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบหาปัจจัยทำนาย (Descriptive Predictive Design) ใช้วิธีรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในเชิงปริมาณเป็นการศึกษาทัศนคติของบุคลากรสุขภาพต่อการให้บริการสุขภาพคนต่างด้าว เปรียบเทียบท ... -
ระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์โควิด-19: กรณีศึกษาโรงพยาบาลบุษราคัม
อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์; Apiradee Nantsupawat; อรอนงค์ วิชัยคำ; Orn-Anong Wichaikhum; กุลวดี อภิชาติบุตร; Kulwadee Abhicharttibutra; ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์; Thitinut Akkadechanunt; ชญาภา แสนหลวง; Chayapha Sanluang; เกศราภรณ์ อุดกันทา; Kedsaraporn Udkunta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)โรงพยาบาลบุษราคัมเป็นโรงพยาบาลสนามขนาดใหญ่เฉพาะด้านในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายระบบบริหารจัดการ ปัญหา/อุปสรรค และกลยุทธ์ในการบริหารจัดการของโรงพยาบาลบุษราคัมและให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบา ...