เลือกตามผู้แต่ง "Boonchai Kijsanayotin"
แสดงรายการ 1-14 จาก 14
-
eHealth in Thailand: Interoperability and Health Information Standards
Boonchai Kijsanayotin; Win Min Thit; Warithnan Thanapak; Niramai Nareenuch; Benjakarn Leelakittisin; Phatcharanan Khongmun; Wanchana Ponthongmak; Panu Looareesuwan (Thai Health Information Standards Development Center, Health System Research Institute, 2559-06)Interoperability of different health information systems is one of the major challenges for countries to develop functional, integrated and effective health information systems. It is evident that the lack of uniform ... -
Rapid Assessment of National Civil Registration and Vital Statistics Systems: A case study of Thailand
Boonchai Kijsanayotin; Kanet Sumputtanon; Pianghatai Ingun (Health Systems Research Institute, 2556-03)Vital statistics provide essential information for monitoring the progress towards achieving the United Nations Millennium Development Goals (MDGs). Well-functioning and reliable civil registration and vital statistics ... -
Review of National Civil Registration and Vital Statistics Systems: A case study of Thailand
Boonchai Kijsanayotin; Kanet Sumputtanon; Pianghatai Ingun (Health Systems Research Institute, 2556-03)Vital statistics provide essential information for monitoring the progress towards achieving the United Nations Millennium Development Goals (MDGs). Well-functioning and reliable civil registration and vital statistics ... -
กลไกและมาตรการในการลดความเหลื่อมล้ำระหว่างระบบประกันสุขภาพ National (Information) Clearing House และ มาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพ
บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin (ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย, 2556-04-25)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจำปี 2556 การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม วันที่ 25-26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร -
การประเมินระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพฉบับสมบูรณ์ กรณีศึกษาประเทศไทย
บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; คเณศ สัมพุทธานนท์; Kanet Sumputtanon; เพียงหทัย อินกัน; Pianghatai Ingun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)สถิติชีพ (Vital Statistics) เป็นดัชนีชี้วัดสำคัญในการติดตามความสำเร็จของเป้าหมายการพัฒนาสหัสวรรษ (MDG-Millennium Development Goal) อันเป็นมติที่สำคัญขององค์การสหประชาชาติ (United Nation) สถิติชีพที่มีความถูกต้อง ... -
การประเมินระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพแบบเร็ว : กรณีศึกษาประเทศไทย
บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; คเณศ สัมพุทธานนท์; Kanet Sumputtanon; เพียงหทัย อินกัน; Pianghatai Ingun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)สถิติชีพ (Vital Statistics) เป็นดัชนีชี้วัดสำคัญในการติดตามความสำเร็จของเป้าหมายการพัฒนาสหัสวรรษ (MDG-Millennium Development Goal) อันเป็นมติที่สำคัญขององค์การสหประชาชาติ (United Nation) สถิติชีพที่มีความถูกต้อง ... -
การวิจัยเพื่อพัฒนาต้นแบบการบูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการพัฒนาเทคโนโลยีระบบดิจิทัลเพื่อการจัดบริการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในระบบปฐมภูมิในประเทศไทย
ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai; ประพัฒน์ สุริยผล; Prapat Suriyaphol; บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; กวิน สิริกวิน; Kwin Sirikwin; ณัฐดนัย ไทยพิพัฒน์; Natdanai Thaipipat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)ชุดโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาต้นแบบการบูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการพัฒนาเทคโนโลยีระบบดิจิทัลเพื่อการจัดบริการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในระบบปฐมภูมิในประเทศไทย วางแผนการดำเนินงาน 3 ปี สำหรับในปีแรก แบ่งการศึกษาออกเป็น ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอแพลตฟอร์มสุขภาพดิจิทัลตามนโยบายปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขในเขตสุขภาพนำร่อง ประเด็นโรคติดเชื้ออุบัติใหม่และโรคไม่ติดต่อ
อนันต์ กนกศิลป์; Anant Kanoksilp; บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; กนกวรรณ มาป้อง; Kanokwan Mapong; รุ่งนิภา อมาตยคง; Roongnipa Amattayakong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)เนื่องจากระบบข้อมูลสารสนเทศสุขภาพของประเทศไทยมีหลายระบบ มีข้อมูลตัวชี้วัดโครงการต่างๆ มากมายมีความซ้ำซ้อนไม่สามารถบูรณาการกันได้ ทั้งระบบรายงานและการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ยังไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ การศึกษาครั ... -
ฐานข้อมูลกลางเพื่อการกำหนดกลไกการกำหนดราคาและกลไกการจ่าย
บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-11)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ... -
ธรรมาภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร -
บริการสุขภาพปฐมภูมิแบบไร้รอยต่อกับความจริงด้านมาตรฐานข้อมูลสุขภาพที่ผู้คนมักไม่ตระหนัก
บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)ประเทศไทยให้ความสำคัญกับระบบสุขภาพปฐมภูมิมานานกว่าสองทศวรรษ มีนโยบายจำนวนมากลงมาสู่ระบบสุขภาพปฐมภูมิ แต่ระบบข้อมูลบริการสุขภาพที่จำเป็นและเป็นมาตรฐานได้รับการพัฒนาช้ากว่าที่ควร ซึ่งเป็นความจริงที่ตระหนักกันน้อยว่ามาตรฐาน ... -
บูรณาการระบบข้อมูลสุขภาพ: คานงัดของระบบบริการสุขภาพที่เน้นคุณค่า
บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ... -
มาตรฐาน LOINC กับระบบข้อมูลสุขภาพของไทย
บุญชัย กิจสนาโยธิน; ดาวฤกษ์ สินธุวณิชย์; Boonchai Kijsanayotin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-02)ประเทศไทยยังไม่มีรหัสมาตรฐานด้านการตรวจทางคลินิกซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ข้อมูลทางคลินิกที่เกี่ยวข้องกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการทางคลินิก (Laboratory Information) ของหน่วยงานต่างๆ ไม่สามารถทำงานร่วมกันได้ การมีรหัสมาตร ... -
รูปแบบการอภิบาลระบบสุขภาพดิจิทัล: ข้อเสนอสำหรับระบบสุขภาพไทย
บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; กมนต์ภรณ์ สุวรรณทวีมีสุข; Kamonporn Suwanthaweemeesuk; อนวัช รัชธร; Anawat Ratchatorn; เทียม อังสาชน; Tiem Ungsachon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)ความเป็นมา ผลการศึกษาระบบสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ของไทย (eHealth in Thailand) ในปี พ.ศ. 2553 โดยกระทรวงสาธารณสุขและองค์การอนามัยโลกประจำประเทศไทยพบว่า ประเทศไทยยังไม่มีกลไกการอภิบาลระบบข้อมูลสุขภาพหรือระบบสุขภาพดิจิทัล ...