เลือกตามผู้แต่ง "Juthamas Prawjaeng"
แสดงรายการ 1-5 จาก 5
-
การประเมินผลกระทบและความคุ้มค่าของวัคซีนโควิดที่พึงประสงค์เพื่อใช้ในการพัฒนาและคัดเลือกวัคซีนสำหรับใช้ในประเทศไทย
พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; นันทสิทธิ์ เหลืองอาสนะทิพย์; Nantasit Luangasanatip; วิริชดา ปานงาม; Wirichada (Pongtavornpinyo) Pan-ngum; สมภพ ศรลัมพ์; Sompob Saralamba; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; Clapham, Hannah E.; Painter, Christopher Matthew Neil; Yi, Wang; Park, Minah (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-04-30)นับแต่มีการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เมื่อต้นปี พ.ศ. 2563 ทำให้มีผู้ติดเชื้อไปแล้วกว่า 100 ล้านคนและเสียชีวิตมากกว่า 2 ล้านคนทั่วโลก ถึงแม้ประเทศไทยจะประสบความสำเร็จในการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค จากสถานการณ ... -
การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพโดยคณะทำงานด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ภายใต้คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ รอบปี พ.ศ. 2559-2561
นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)ประเทศไทยได้พยายามพัฒนากรอบบัญชียาจำเป็นหรือยาหลักแห่งชาติมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งในปี พ.ศ. 2551 มีการนำข้อมูลความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณมาเป็นส่วนหน ... -
การพัฒนากรอบยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขเพื่อตอบสนองต่อการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประเทศไทย
วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; กานต์พีชญา เนตรพิสิทธิ์กุล; Kanpechaya Netpisitkul; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย; Benjarin Santatiwongchai; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; ณัฐดนัย รัชตะนาวิน; Nattadhanai Rajatanavin; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; รักษพล สนิทยา; Rugsapon Sanitya; อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; ณัฎฐณิชา แปงการิยา; Nattanicha Pangkariya; รัชพร คงประเสริฐ; Ratchaporn Kongprasert; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin; หทัยชนก สุมาลี; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019, COVID-19 หรือ โควิด-19) นับเป็น "การระบาดใหญ่" (pandemic) หลังจากพบผู้ติดเชื้อทั่วโลก ปัจจุบัน (กันยายน 2563) มีผู้ติดเชื้อทั่วโลกมากกว่า 30 ล้านราย ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขของการใช้ยาชีววัตถุและยาสังเคราะห์มุ่งเป้าต้านรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดำเนินโรคในการรักษาผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ที่มีภาวะการอักเสบมาก
พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; ชลทิชา จันทร์แจ่ม; Chonticha Chanjam; ณัฐกานต์ บุตราช; Nuttakarn Budtarad; วันรัชดา คัชมาตย์; Wanruchda Katchamart; พงศ์ธร ณรงค์ฤกษ์นาวิน; Pongthorn Narongroeknawin; ทัศนีย์ กิตอำนวยพงษ์; Tasanee Kitumnuaypong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณของยาต้านรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดำเนินโรค (disease-modifying anti-rheumatic drugs; DMARDs) ในกลุ่มยาชีววัตถุ (biologic DMARDs; bDMARDs) ... -
การสังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงยากลุ่มโอปิออยด์ สำหรับการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง ในประเทศไทย
จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; กานต์พีชญา เนตรพิสิทธิ์กุล; Kanpechaya Netpisitkul; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-18)ปัจจุบันในประเทศไทยมีผู้ป่วยระยะท้ายที่ต้องการการดูแลแบบประคับประคองเพิ่มมากขึ้น ยาแก้ปวดกลุ่มโอปิออยด์จัดเป็นยาที่จำเป็นในการบรรเทาอาการปวดชนิดรุนแรง ซึ่งช่วยลดความทรมานและทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างชัดเจน ...