เลือกตามผู้แต่ง "Kanchanok Sirison"
แสดงรายการ 1-3 จาก 3
-
กระบวนการสังเคราะห์ข้อมูลอย่างเร็วเพื่อตอบคำถามเชิงนโยบายสาธารณสุข เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบสาธารณสุขไทย และการกระจายอำนาจด้านสุขภาพสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย; Benjarin Santatiwongchai; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; ณชวิศ กิตติบวรดิฐ; Nachawish Kittibovorndit; นิชาต์ มูลคำ; Nicha Moonkham; มานิต สิทธิมาตร; Manit Sittimart; กานต์ชนก ศิริสอน; Kanchanok Sirison; อธิเจต มงคลโสฬส; Athijade Mongkolsoros; พสิษฐ์ ทองสีนุช; Pasit Thongsrinuch; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-08)การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ (health technology assessment, HTA) และข้อมูลวิชาการต่าง ๆ เป็นเครื่องมือสำคัญเพื่อประกอบการกำหนดนโยบายของผู้กำหนดนโยบาย อย่างไรก็ตามกระบวนการ HTA และสังเคราะห์ข้อมูลวิชาการที่จำเป็นเหล่านี้ ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของสายสวนสลายพังผืดในช่องเหนือไขสันหลังในผู้ป่วยที่มีภาวะปวดไม่หายขาดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลังส่วนเอวและโรคช่องประสาทไขสันหลังตีบแคบ
ณัฏฐิญา ค้าผล; Nattiya Kapol; ศุทธินี ไชยแก้ว; Suttinee Chaikaew; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; กานต์ชนก ศิริสอน; Kanchanok Sirison; ปราโมทย์ เอื้อโสภณ; Pramote Euasobhon; นุช ตันติศิรินทร์; Nuj Tontisirin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)ในปัจจุบันหัตถการการใช้สายสวนสลายพังผืด (Percutaneous Epidural Adhesiolysis, PEA) เป็นการรักษาทางเลือกของอาการปวดในกรณีที่ผู้ป่วยโรคช่องประสาทไขสันหลังตีบแคบและผู้ป่วยที่มีภาวะปวดไม่หายขาดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลังส่วนเอวที ... -
การศึกษาประเด็นท้าทายเพื่อพัฒนากรอบการติดตามและการประเมินผลของนโยบายวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย
วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ฉัตรกมล พีรปัญญาวรานันท์; Chatkamol Pheerapanyawaranun; กานต์ชนก ศิริสอน; Kanchanok Sirison; นภดล พิมสาร; Nopphadol Pimsarn; ณชวิศ กิตติบวรดิฐ; Nachawish Kittidovorndit; บงกช เกอเค่; Bongkoch Goeke; KC, Sarin; Dabak, Saudamini Vishwanath (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)วัคซีนโควิด-19 ถือเป็นมาตรการที่เป็นความหวังอันสำคัญในการควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคอย่างยั่งยืน และส่งผลทางอ้อมให้ภาครัฐสามารถผ่อนปรนมาตรการอื่นๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ ฉะนั้น ...