เลือกตามผู้แต่ง "Opass Putcharoen"
แสดงรายการ 1-3 จาก 3
-
การศึกษาประสิทธิผล ความปลอดภัย และระดับยาของยาโดลูทิกราเวียร์ 50 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้งร่วมกับอาหาร เปรียบเทียบกับยาโดลูทิกราเวียร์ 50 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้งในผู้ที่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี-1 ที่เป็นวัณโรค และเริ่มการรักษาด้วยสูตรยาไรแฟมปิน (ปีที่ 1)
อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; กำพล สุวรรณพิมลกุล; Gompol Suwanpimolkul; กมล แก้วกิติณรงค์; Kamon Kawkitinarong; โอภาส พุทธเจริญ; Opass Putcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)เนื่องจากการรับประทานยาไรแฟมปินและยาโดลูเทกราเวียร์ร่วมกันจะทำให้ระดับยาโดลูเทกราเวียร์ลดลง จึงมีคำแนะนำให้รับประทานยาโดลูเทกราเวียร์ วันละ 2 ครั้ง เมื่อมีการใช้ยาร่วมกัน อย่างไรก็ตาม ในผู้ที่มีสุขภาพดี การรับประทานยาโดล ... -
ความเสี่ยงของการถ่ายทอดเชื้อทางโลหิตบริจาคในชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย
ดุจใจ ชัยวานิชศิริ; Dootchai Chaiwanichsiri; พิมล เชี่ยวศิลป์; Pimol Chiewsilp; ศศิธร เพชรจันทร; Sasitorn Bejrachandra; อิศรางค์ นุชประยูร; Issarang Nuchprayoon; พิมพรรณ กิจพ่อค้า; Pimpun Kitpoka; ปาริชาติ เพิ่มพิกุล; Parichart Permpikul; ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์; Cheewanan Lertpiriyasuwat; วารุณี จินารัตน์; Varunee Jinaratana; พรรณดี วัฒนบุญยงเจริญ; Phandee Watanaboonyongcharoen; ดวงตะวัน ธรรมาณิชานนท์; Duangtawan Thammanichamond; ดารินทร์ ซอโสตถิกุล; Darintr Sosothikul; โอภาส พุทธเจริญ; Opass Putcharoen; เจตตวรรณ ศิริอักษร; Jettawan Siriaksorn; ธนะภูมิ รัตนานุพงศ์; Thanapoom Rattananupong; ภาวิณี คุปตวินทุ; Pawinee Kupatawintu; สิณีนาฏ อุทา; Sineenart Oota; สาธิต เทศสมบูรณ์; Sathid Thedsomboon; เกรียงศักดิ์ ไชยวงค์; Kriangsak Chaiwong; ดวงนภา อินทรสงเคราะห์; Duangnapa Intharasongkroh; พีระยา สุริยะ; Peeraya Suriya; อภิสิทธิ์ ทองไทยสิน; Apisit Tongthaisin; อภิวรรษ ติยะพรรณ; Apiwat Tiyapan; คามิน วงษ์กิจพัฒนา; Kamin Wongkijpatana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02-14)ที่มาและวัตถุประสงค์ จากการลดลงของความชุกโรคเอดส์ ร่วมกับมีการตรวจวิเคราะห์ด้วยวิธี Nucleic Acid Test ที่ช่วยลด Window Period ของการตรวจเชื้อเอชไอวี (Human Immunodeficiency Virus, HIV) บางประเทศจึงเริ่มให้ผู้มีพฤติกรรมเพ ... -
ประสิทธิผลการใช้พลาสมาของผู้ที่หายป่วยจากโรคโควิด-19 สำหรับรักษาผู้ป่วย โควิด-19 ที่มีภาวะปอดบวมระดับปานกลางถึงรุนแรง
ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ดุจใจ ชัยวานิชศิริ; Dootchai Chaiwanichsiri; จินตนา จิรถาวร; Chintana Chirathaworn; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; พรพิตรา ประเทศรัตน์; Pornpitra Pratedrat; โอภาส พุทธเจริญ; Opass Putcharoen; สมชาย ธนะสิทธิชัย; Somchai Thanasitthichai; อรุณี ธิติธัญญานนท์; Arunee Thitithanyanont; ประเสริฐ เอื้อวรากุล; Prasert Auewarakul; ปาริชาติ เพิ่มพิกุล; Parichart Permpikul; สมนึก สังฆานุภาพ; Somnuek Sungkanuparph; นิธิตา นันทตันติ; Nithita Nanthatanti; ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์; Chaicharn Deerochanawong; สมคิด อุ่นเสมาธรรม; Somkid Ounsematham; เปี่ยมลาภ แสงสายัณห์; Piamlarp Sangsayunh; วีรวัฒน์ มโนสุทธิ; Weerawat Monosuthi; วิชัย เตชะสาธิต; Wichai Techasathit; พลิตา เหลืองชูเกียรติ; Palita Lungchukiet (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)โรคอุบัติใหม่โควิด-19 ที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่มีการระบาดไปทั่วโลก โดยเริ่มพบการแพร่ระบาดของเชื้อครั้งแรกเมื่อเดือนธันวาคม 2562 ในนครอู่ฮั่น เมืองหลวงของมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การ ...