เลือกตามผู้แต่ง "Ram Rangsin"
แสดงรายการ 1-6 จาก 6
-
การประเมินการดำเนินการเพิ่มศักยภาพเครือข่ายระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ที่บ้าน ในช่วงเวลาที่เกิดวิกฤติระบบสุขภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
ศิรินภา ศิริพร ณ ราชสีมา; Sirinapa Siriporn Na Ratchaseema; สายรัตน์ นกน้อย; Sairat Noknoy; อภินันท์ อร่ามรัตน์; Apinun Aramrattana; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; อนุวัตร แก้วเชียงหวาง; Anuwat Kaewchiangwang; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; สตางค์ ศุภผล; Satang Supapon; วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart; นิตยา ภานุภาค; Nittaya Phanuphak; ปิยวรรณ ลิ้มปัญญาเลิศ; Piyawan Limpanyalert; กิตติ วงศ์ถาวราวัฒน์; Kitti Wongthavarawat; ยุพดี ศิริสินสุข; Yupadee Sirisinsuk; นาถนภา คำลอยฟ้า; Nathnapha Khumloyfa; นิมิตร์ เทียนอุดม; Nimit Tienudom; นพพรรณ พรหมศรี; Nopphan Promsri; ทัศนีย์ ญาณะ; Tassanee Yana; เกรียงไกร พึ่งเชื้อ; Kriengkrai Peungchuer; พลวัฒน์ ทศวิภาค; Ponrawat Thotwiphak; ธีระบูลย์ เลิศวณิชย์วัฒนา; Teeraboon Lertwanichwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ ช่วงกลางปี พ.ศ. 2564 นำไปสู่ปัญหาวิกฤติระบบสุขภาพในกรุงเทพมหานครที่ผู้ป่วยหนักไม่สามารถเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ ... -
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการสำหรับการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงในประชากรไทย โดยใช้ระบบต้นแบบในกำลังพลกองทัพบก
ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; มฑิรุทธ มุ่งถิ่น; Mathirut Mungthin; ปนัดดา หัตถโชติ; Panadda Hatthachote; กัลยา จงเชิดชูตระกูล; Kanlaya Jongcherdchootrakul; บุญทรัพย์ ศักดิ์บุญญารัตน์; Boonsub Sakboonyarat; ธีระบูลย์ เลิศวณิชย์วัฒนา; Teeraboon Lertwanichwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07-20)ที่มาและความสำคัญ : โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในกลุ่มโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งการรักษาจำเป็นต้องรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง เพื่อที่จะลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นจากตัวโรค ... -
การพัฒนารูปแบบบริการปฐมภูมิสำหรับผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดยใช้นวัตกรรมเครือข่ายผู้ช่วยเหลือผู้ป่วยที่บ้าน
ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; มฑิรุทธ มุ่งถิ่น; Mathirut Mungthin; ปนัดดา หัตถโชติ; Panadda Hatthachote; บุญทรัพย์ ศักดิ์บุญญารัตน์; Boonsub Sakboonyarat; ยุภาพร ศรีจันทร์; Yupaporn Srichan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-04)ในบริบทของสังคมประเทศไทยที่กำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มที่ป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างเต็มรูปแบบและรอบด้าน เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวมีคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งผู้วิจัยคิดว่าการ ... -
ผลลัพธ์การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ด้วยระบบการแยกกักตัวที่บ้าน
สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; กิตติ วงศ์ถาวราวัฒน์; Kitti Wongthavarawat; อรุโณทัย ศิริอัศวกุล; Arunotai Siriussawakul; ปารวี ชีวะอิสระกุล; Parawee Chevaisrakul; วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; สายรัตน์ นกน้อย; Sairat Noknoy; ยุพดี ศิริสินสุข; Yupadee Sirisinsuk; ธีระบูลย์ เลิศวณิชย์วัฒนา; Teeraboon Lertwanichwattana; พุทธภูมิ ลำเจียกเทศ; Putthapoom Lumjiaktase; ศิรินภา ศิริพร ณ ราชสีมา; Sirinapa Siriporn Na Ratchaseema; พงศ์ธร เกียรติดำรงวงศ์; Pongtorn Kietdumrongwong; นิตยา ภานุภาค; Nittaya Phanuphak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ของประเทศไทย พบว่า เกิดความรุนแรงถึงระดับภาวะวิกฤตทางด้านสาธารณสุข จากการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกที่ 3 ตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2564 โดยเกิดภาวะวิกฤตสูงสุดในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงกันยายน ... -
มุมมองของ HA ที่มีต่อ R2R: ส่งเสริมการวิจัยบนพื้นฐานจริยธรรม
ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin (วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฏเกล้า, 2552-07-17)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 6 : สนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มุมมอง HA ที่มีต่อ R2R: ส่งเสริมการวิจัยบนพื้นฐานจริยธรรม ... -
ระบบวิจัยคลินิกสหสถาบันของประเทศ : ประสบการณ์จากเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน (ตอนที่ 1)
ปิยะทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์; Piyatat Tasanavivat; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; สุธีร์ รัตนะมงคลกุล; Suthee Ratanamongkolkul; อรุณ จิรวัฒน์กุล; Aroon Chirawatkul; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)