เลือกตามผู้แต่ง "Saowalak Hunnangkul"
แสดงรายการ 1-4 จาก 4
-
การกระจายและการใช้ยาปฏิชีวนะของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คลินิก และร้านยา
นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)ความไม่สอดคล้องระหว่างรายการยาปฏิชีวนะที่มีใช้ในหน่วยบริการ กับศักยภาพการให้บริการของหน่วยบริการ อาจทำให้เกิดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผล อันจะส่งผลต่อการเกิดเชื้อดื้อยา การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการกระจายแล ... -
การตรวจสอบความถูกต้องและความคุ้มทางเศรษฐศาสตร์ ในการวินิจฉัยโรคอัลซไฮเมอร์ และภาวะสมองฝ่อโดยใช้ตัวชี้วัดชีวภาพจากเลือด โดยวิธี Single-molecule array (Simoa) ในประชาชนไทย (ตอช)
วรพรรณ เสนาณรงค์; Vorapun Senanarong; ชัชวาล รัตนบรรณกิจ; Chatchawan Rattanabannakit; พิพัฒน์ เชี่ยววิทย์; Pipat Chiewvit; ยุทธพล วิเชียรอินทร์; Yudthaphon Vichianin; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; เลิศชาย วชิรุตมางกูร; Leatchai Wachirutmanggur; ธัญญลักษณ์ เธียรธัญญกิจ; Tanyaluck Thientunyakit; เบญจาภา เขียวหวาน; Benjapa Khiewvan; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; ศตนันทน์ มณีอ่อน; Satanun Maneeon; นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-05)โครงการการตรวจสอบความถูกต้องและความคุ้มทางเศรษฐศาสตร์สุขภาพในการวินิจฉัยโรคอัลซไฮเมอร์และภาวะสมองฝ่อโดยใช้ตัวชี้วัดชีวภาพจากเลือด โดยวิธี Single-molecule array (Simoa) ในประชาชนไทย (ตอช) มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ (1) ... -
การสำรวจระบบควบคุมและเฝ้าระวังการใช้ยาปฏิชีวนะและการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุสมผล : ผลการศึกษาเบื้องต้น
นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; ภาณุมาศ ภูมาศ; ภูษิต ประคองสาย; Nithima Sumpradit; Saowalak Hunnangkul; Panumart Phumart; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการใช้ยาปฏิชีวนะ ระบบและกลไกการควบคุมและการเฝ้าระวังการใช้ยาปฏิชีวนะรวมทั้งมาตรการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาลรัฐและเอกชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คลินิก และร้านยา ... -
มาตรการควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล และการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล ในโรงพยาบาลรัฐและเอกชน ในประเทศไทย
ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)สถานการณ์เชื้อแบคทีเรียดื้อยามีแนวโน้มสูงขึ้นในโรงพยาบาล การมีมาตรการควบคุมโรคติดเชื้อ (Hospital Infection Control; IC) และการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (Antimicrobial Stewardship Programs; ASP) จึงมีความสำคัญ ...