เลือกตามผู้แต่ง "Udom Asawutmangkul"
แสดงรายการ 1-3 จาก 3
-
บทเรียนจากการพัฒนาแผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ. 2561 - 2573
ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ธีรพงษ์ คำพุฒ; Theerapong Khamput; จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jiraporn Kamonrungsan; ปรารถนา พรหมสาขา ณ สกลนคร; Prattana Promsaka Na Sakolnakorn; อุดม อัศวุตมางกุร; Udom Asawutmangkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)แผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ. 2561 - 2573 เป็นแผนยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกที่ให้ความสำคัญกับการมีกิจกรรมทางกายของประชาชนไทย แผนนี้ได้รับการพัฒนาผ่านกระบวนการการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในปี พ.ศ. 2558 โดยกรมอนามัย ... -
บทเรียนจากการพัฒนาและนำนโยบายส่งเสริมการก้าวเดินไปปฏิบัติ
ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชลพันธ์ ปิยถาวรอนันต์; Chonlaphan Piyathawornanan; อุดม อัศวุตมางกุร; Udom Asawutmangkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)นโยบายส่งเสริมการก้าวเดิน ได้รับการพัฒนาในปี พ.ศ. 2562 โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ตามแผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ. 2561-2573 โดยดำเนินการผ่านโครงการก้าวท้าใจ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ... -
ใครบรรลุเป้าหมายระยะทาง 60 กิโลเมตร ใน 60 วัน ของนโยบายส่งเสริมการก้าวเดินครั้งที่ 1 ของประเทศไทย? การศึกษาภาคตัดขวางของประชาชนไทยวัยผู้ใหญ่
ชลพันธ์ ปิยถาวรอนันต์; Chonlaphan Piyathawornanan; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; พีรยา เพียรเจริญ; Peeraya Piancharoen; อุดม อัศวุตมางกุร; Udom Asawutmangkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)ประเทศไทย โดยกระทรวงสาธารณสุข ได้ดำเนินนโยบายส่งเสริมการก้าวเดินเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2563 ผ่านโครงการก้าวท้าใจ โดยมีเป้าหมายที่ระยะทาง 60 กิโลเมตร ใน 60 วัน ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ ถึง 31 มีนาคม พ.ศ. 2563 จุดมุ่งหมาย ...