เลือกตามผู้แต่ง "Usa Chaikledkaew"
แสดงรายการ 1-18 จาก 18
-
Cost-utility analysis of recombinant human erythropoietin in anemic cancer patients induced by chemotherapy in Thailand
Jirapan Roungrong; Yot Teerawattananon; Usa Chaikledkaew (Medical Association of Thailand, 2008) -
Making Health Technology Assessment Information Available for Decision Making: The Development of a Thai Database
Nattiya Kapol; Pagamas Maitreemit; Rapeepun Chalongsuk; Yaowalak Amrumpai; Namfon Sribundit; Montarat Thavorncharoensap; Usa Chaikledkaew; Yot Teerawattananon (Medical Association of Thailand, 2008) -
The potential of provider-initiated voluntary HIV counseling and testing at health care settings in Thailand
Yot Teerawattananon; Yuwadee Leelukhanaveera; Piya Hanvoravongchai; Montarat Thavorncharoensap; Lily Ingsrisawang; Sripen Tantivess; Usa Chaikledkaew; Narin Hiransuthikul; Chewanan Leartpiriyasuwat (Health Intervention and Technology Assessment Program, 2009-03)WHO and UNAIDS advocated healthcare providers to consider provider-initiated HIV counseling and testing for clients attending healthcare facilities. However, there is a lack of evidence, concerning the effectiveness of ... -
การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์เชิงอภิมานประสิทธิผลของยากลุ่มสตาติน ที่มีจำหน่ายในประเทศไทยในการลดการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันเฉียบพลันและโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน
ยุพิน ตามธีรนนท์; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; ปัณรสี ขอนพุดซา; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)การศึกษานี้เป็นการประเมินประสิทธิผลทางเวชกรรมของยากลุ่มสตาตินในการลดการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันเฉียบพลันและโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน โดยการทบทวนวรรณกรรม ยาที่นำมาศึกษา ได้แก่ ยาที่มีจำหน่ายในประเทศไทย คือ atorvastatin, ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติในครรภ์ก่อนคลอดในประเทศไทย
อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ปรีชญา วงษ์กระจ่าง; Preechaya Wongkrajang; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; เสริมสิริ แสงรุ่งเรืองศรี; Sermsiri Sangroongruangsri; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)ประเทศไทยมีรายงานอุบัติการณ์ของโรคโครโมโซมผิดปกติ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ในทารกแรกเกิดอยู่ระหว่าง 1 : 800 ถึง 1 : 1,000 โดยพบความเสี่ยงเพิ่มขึ้นตามอายุของมารดา อย่างไรก็ตามร้อยละ 75-80 ของทารกแรกเกิดที่มีอาการดาวน์นั้นพบว่า ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยภาวะพาหะธาลัสซีเมียในคู่สามีภรรยาในประเทศไทย
อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ปรีชญา วงษ์กระจ่าง; Preechaya Wongkrajang; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; เสริมสิริ แสงรุ่งเรืองศรี; Sermsiri Sangroongruangsri; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)ความชุกของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียพบได้ประมาณร้อยละ 1 ของประชากรทั้งหมด โดยมีผู้ที่เป็นพาหะของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียประมาณร้อยละ 30-40 จึงสามารถประมาณการได้ว่าจะพบผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงรายใหม่ 5,125 คน ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของมาตรการค้นหาและตรวจวินิจฉัยวัณโรคแฝงในผู้สัมผัสวัณโรค
อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; พนิดา อยู่เพ็ชร; Panida Yoopetch (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย M. Tuberculosis ส่วนใหญ่มักเกิดที่ปอด ซึ่งสามารถแพร่เชื้อได้ง่าย ผู้สัมผัสที่อยู่ใกล้ชิดมีโอกาสป่วยเป็นวัณโรคหรือติดเชื้อวัณโรคแฝง ซึ่งมีโอกาสพัฒนาไปเป็นผู้ป่วยวัณโรค ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 1
อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; Saowalak Turongkaravee; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ; Wanvisa Udomsinprasert; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)การตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ยามีความหลากหลายและมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ก่อนเริ่มใช้ยา แต่ทว่าทรัพยากรทางสุขภ ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 2
อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; Saowalak Turongkaravee; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ; Wanvisa Udomsinprasert; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)บทนำ : จากการจัดลำดับความสำคัญและการคัดเลือกการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ (คู่ยีน-ยา) ที่ควรนำมาพิจารณาประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า การตรวจยีน HLA-B*57:01 เปรียบเทียบกับการไม่ตรวจยีน ก่อนเริ่มการรักษาด้วยยา Abacavir ... -
การประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์และผลกระทบด้านงบประมาณของยา Anti-Parkinson (Rasagiline และ Apomorphine) ในการรักษาผู้ป่วยพาร์กินสันระยะรุนแรงในประเทศไทย
เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; Saowalak Turongkaravee; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)บทนำ: ผู้ป่วยโรคพาร์กินสันระยะรุนแรง (Advanced Parkinson’s disease, PD) ส่วนใหญ่จะมีปัญหาเรื่องภาวะแทรกซ้อนของอาการด้านการเคลื่อนไหว (Motor complications) ได้แก่ อาการหยุกหยิก (Dyskinesia) และการตอบสนองต่อยาไม่สม่ำเสมอ ... -
การประเมินผลกระทบด้านสังคมและปัญหาที่เกิดขึ้นซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการการดูแลรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายด้วยวิธีการล้างไตผ่านทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง การล้างไตทางช่องท้องด้วยเครื่องอัตโนมัติ และการใช้น้ำยา icodextrin
อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุชาย ศรีทิพยวรรณ; Suchai Sritippayawan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติให้ขยายบริการทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยเริ่มให้บริการการล้างไตทางช่องท้อง (Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis, CAPD) เป็นลำดับแรก ... -
การพัฒนาสิทธิประโยชน์สำหรับการวินิจฉัย ดูแลรักษาและป้องกันโรคปอมเปย์ สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ดวงฤดี วัฒนศิริชัยกุล; Duangrurdee Wattanasirichaigoon; กัญญา ศุภปีติพร; Kanya Suphapeetiporn; ทิพยวิมล ทิมอรุณ; Thipwimol Tim-Aroon; จุฬาลักษณ์ คุปตานนท์; Chulaluck Kuptanon; พลกร กิจศิริวัฒนกุล; Ponlakorn Kitsiriwattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ กรณีการวินิจฉัยดูแลรักษาฟื้นฟูและป้องกันโรค เพื่อการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคปอมเปย์ สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยใช้ข้อมูล ... -
การพัฒนาสิทธิประโยชน์สำหรับการวินิจฉัย ดูแลรักษาและป้องกันโรคเอ็มพีเอสสำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ดวงฤดี วัฒนศิริชัยกุล; Duangrurdee Wattanasirichaigoon; อัจฉรา เสถียรกิจการชัย; Achara Sathienkijkanchai; ทิพยวิมล ทิมอรุณ; Thipwimol Tim-Aroon; จุฬาลักษณ์ คุปตานนท์; Chulaluck Kuptanon; ชัยศิริ เหลืองสินศิริ; Chaisiri Luangsinsiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ กรณีการวินิจฉัยดูแลรักษาฟื้นฟูและป้องกันโรค เพื่อการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคเอ็มพีเอส สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จากการทบทว ... -
การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการล้างไตผ่านทางช่องท้องด้วยวิธี Automated Peritoneal Dialysis เปรียบเทียบกับ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis ในผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายโดยใช้วิธีแบบจำลองมาร์คอฟ
อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; มณฑิรา อัศนธรรม; Montira Assanatham; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)บทนำ : ในปัจจุบันการล้างไตด้วยวิธี Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis (CAPD) บรรจุในชุดสิทธิประโยชน์ของสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในขณะที่วิธี Automated Peritoneal Dialysis (APD) มีค่าใช้จ่ายที่สูงและยังไม่บรรจ ... -
การศึกษาถึงความเป็นไปได้ของโครงการการให้บริการการล้างไตทางช่องท้องด้วยเครื่องอัตโนมัติและน้ำยาไอโคเด็กซตรินสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายผู้ใหญ่ที่มีภาวะน้ำและเกลือโซเดียมเกินในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ปีที่ 3)
สุชาย ศรีทิพยวรรณ; Suchai Sritippayawan; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ปิยะธิดา จึงสมาน; Piyatida Chuengsaman; ศศิมา ทองสาย; Sasima Tongsai; พนิดา อยู่เพ็ชร; Panida Yoopetch; นิภา อัยยสานนท์; Nipa Aiyasanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10)ปัจจุบัน การรักษาด้วยน้ำยา icodextrin และการล้างไตทางช่องท้องด้วยเครื่องอัตโนมัติ (automated PD, APD) ยังมีราคาแพงมาก การศึกษานี้ ต้องการศึกษาความเป็นได้ของการให้สิทธิประโยชน์การรักษา PD ด้วยน้ำยา icodextrin (CAPD with ... -
การสำรวจค่าใช้จ่ายการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคในประเทศไทย
ผลิน กมลวัทน์; Phalin Karmolwat; ศรีประพา เนตรนิยม; Sriprapa Nateniyom; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; มนทรัตน์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; พิเชต วงรอต; Phichet Wongrot; บุญเชิด กลัดพ่วง; Booncherd Kladphuang; อรรถกร จันทร์มาทอง; Auttagorn Junmartong; อุบลรัตน์ วาจรัต; Ubonrat Wajarat; วัสนันท์ ขันธชัย; Wassanan Khanthachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)การศึกษาวิจัยฉบับนี้ เป็นการวิจัยสำรวจภาคตัดขวาง (cross-sectional survey) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินค่าใช้จ่ายที่ผู้ป่วยวัณโรคและครอบครัวต้องแบกรับ (Out-of-pocket expenditure) เพื่อประเมินอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะวิกฤตทา ... -
ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของการขาดงานและด้อยประสิทธิภาพการทำงานจากการบริโภคแอลกอฮอล์
กรรณิการ์ ฐิติบุญสุวรรณ; Khannika Thitiboonsuwan; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; Chanida Lertpitakpong; จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจจากการขาดงานและการสูญเสียประสิทธิภาพขณะทำงานจากการบริโภคแอลกอฮอล์ใน พ.ศ. 2550 โดยทำการสำรวจแบบภาคตัดขวางในประชากรไทย อายุ 15-60 ปี ที่มีงานทำในรอบ 7 วันก่อนการสำรวจ จาก ... -
แผ่นปิดกะโหลกศีรษะเฉพาะบุคคล ผลิตจากโลหะไทเทเนียมด้วยเทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ สำหรับผู้ป่วยกะโหลกศีรษะยุบในการศึกษาวิจัยทางคลินิกแบบหลายสถาบัน
บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒน; Boonrat Lohwongwatana; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; เชษฐา พันธ์เครือบุตร; Chedtha Puncreobutr (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)การผ่าตัดปิดกะโหลกศีรษะส่งผลดีต่อทั้งสภาพร่างกายและสภาพจิตใจของผู้ป่วยตั้งแต่การรักษาความปกติของกลศาสตร์การไหลของของเหลวภายในสมอง ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายตลอดจนส่งผลต่อรูปลักษณ์ภายนอก การเข้าสังคม สภาพจิตใจของผู้ป่วยและทำ ...