• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "การดื้อยา"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 34

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • 3 โรครักษาได้ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ 

      ศศิมา ดำรงสุกิจ (2551-03)
    • การขยายมาตรการสนับสนุนและส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมในโรงพยาบาลในประเทศไทย 

      ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์; Pinyo Rattanaumpawan; พรพรรณ กู้มานะชัย; Pornpan Koomanachai; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; วลัยพร วังจินดา; Walaiporn Wangchinda (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-15)
      การติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ในปี ค.ศ. 2015 องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้ Global Antimicrobial Resistance Surveillance System (GLASS) และดำเนินการส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ...
    • การค้นหาสารต้านวัณโรคตัวใหม่ที่มีความจำเพาะสูงในการออกฤทธิ์ยับยั้งการติดเชื้อวัณโรคที่มีการดื้อยา 

      พรพรรณ พึ่งโพธิ์; Pornpan Pungpo; สุภา หารหนองบัว; Supa Hannongbua; อรดี พันธ์กว้าง; Auradee Punkvang; พฤทธิ์ คำศรี; Pharit Kamsri; ประสาท กิตตะคุปต์; Prasat Kittakoop; พจนีย์ ศรีมาโนชญ์; Potjanee Srimanote; ชมภูนุช ส่งสิริฤทธิกุล; Chomphunuch Songsiriritthigul; คมสันต์ สุทธิสินทอง; Khomson Suttisintong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ในงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการออกแบบและค้นหาสารต้านวัณโรคตัวใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงในการยับยั้งวัณโรคดื้อยากลุ่มฟลูออโรควิโนโลน โดยใช้ระเบียบวิธีการจำลองแบบแล ...
    • การดำเนินงานชุดโครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul; ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์; Pinyo Rattanaumpawan; อธิรัฐ บุญญาศิริ; Adhiratha Boonyasiri; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; ศศิ เจริญพจน์; Sasi Jaroenpoj (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยได้ดำเนินการ 10 กิจกรรม ในการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก ได้แก่ 1) ประมาณการขนาดปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ...
    • การประยุกต์ใช้การตรวจวัดระดับยาในเลือดที่ใช้รักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี และพื้นที่ใกล้เคียง 

      อนันต์ ไชยกุลวัฒนา; Anun Chaikoolvatana; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan; จารุวรรณ ธนวิรุฬห์; Charuwan Thanavirun; ชลลดา ไชยกุลวัฒนา; Cholada Chaikoolvatana; สิทธิกร กุลประเสริฐศรี; Sittikorn Kulprasertsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-10-17)
      โครงการประยุกต์ใช้การตรวจวัดระดับยาในเลือดที่ใช้รักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี และพื้นที่ใกล้เคียง มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานได้รับการติดตามผลการรักษาอย่างมีประสิทธ ...
    • การประเมินการดำเนินงานระยะครึ่งแผนตามแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 

      วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ในปี พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบต่อ “แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564” ซึ่งถือเป็นแผนยุทธศาสตร์ฉบับแรกของประเทศไทยที่มีขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นการเฉพาะ และต่อมาในปี ...
    • การประเมินเทคนิคทางอณูวิทยาเพื่อวินิจฉัยวัณโรค และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ปีที่ 2 

      วัชระ กสิณฤกษ์; Watchara Kasinrerk; อุษณีย์ อนุกูล; Usanee Anukool; พลรัตน์ พันธุ์แพ; Ponrut Phunpae; สรศักดิ์ อินทรสูต; Sorasak Intorasoot; ชญาดา สิทธิเดช ธารินเจริญ; Chayada Sitthidet Tharinjaroen; ขจรศักดิ์ ตระกูลพัว; Khajornsak Tragoolpua; บดินทร์ บุตรอินทร์; Bordin Butr-Indr; กัญญา ปรีชาศุทธิ์; Kanya Preechasuth; ประภาภรณ์ ศรีโลหะสิน; Prapaporn Srilohasin; เจียรนัย ขันติพงศ์; Jiaranai Khantipongse (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      วัณโรค (tuberculosis: TB) และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (multidrug-resistant TB: MDR-TB) เป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศไทย ที่ผ่านมาพบว่าความครอบคลุมในการรักษา TB และ MDR-TB อยู่ในอัตราที่ต่ำโดยหนึ่งในสาเหตุสำคัญมาจาก ...
    • การผนวกกลไกการติดตามและประเมินความรู้และความตระหนักของประชาชนเกี่ยวกับแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพเข้าสู่การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ 

      สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; พรรัชดา มาตราสงคราม; Pohnratchada Mattrasongkram; วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; อภิชาติ ธัญญาหาร; Apichart Thunyahan; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      การดื้อยาต้านจุลชีพ (antimicrobial resistance: AMR) เป็นปัญหาระดับโลกที่คุกคามต่อความมั่นคงด้านสาธารณสุขและด้านเศรษฐกิจ มีการคาดการณ์ว่า หากไม่มีการแก้ไขปัญหานี้อย่างจริงจัง ในอีก 33 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2593) จะมีผู้เสียชีว ...
    • การพัฒนาขบวนการวิเคราะห์ข้อมูลจีโนมและการค้นหาเครื่องหมายพันธุกรรมเพื่อศึกษาระบาดวิทยาและทำนายการดื้อยาของเชื้อวัณโรค (ปีที่ 2) 

      เทอดศักดิ์ พราหมณะนันทน์; Therdsak Prammananan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-05)
      วัณโรคยังคงเป็นโรคติดเชื้อที่สร้างปัญหาทางสาธารณสุขและส่งผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจของประเทศไทยอย่างมาก การศึกษาระบาดวิทยาและชีววิทยาของเชื้อวัณโรค การตรวจวินิจฉัยวัณโรคดื้อยา รวมถึงการวางแผนการรักษาโรคจึงเป็นสิ่งจำเป็นอ ...
    • การพัฒนาข้อเสนอตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับสถานพยาบาลและร้านยา 

      สุนทรี วัชรดำรงกุล; Suntaree Watcharadamrongkun; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; กิติยศ ยศสมบัติ; Kitiyot Yotsombut; ตุลาการ นาคพันธ์; Tulakarn Nakpun; บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข; Bunnasorn Techajumlernsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลถูกกำหนดเป็นยุทธศาสตร์หนึ่งในนโยบายแห่งชาติด้านยาตั้งแต่นโยบายแห่งชาติด้านยาฉบับแรก ในปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้การใช้ยาอย่างสมเหตุผลและการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ...
    • การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานโดยใช้ระบบทะเบียนวัณโรคแบบอิเล็กทรอนิกส์ 

      ณสิกาญจน์ อังคเศกวินัย; Nasikarn Angkasekwinai; ประภาภรณ์ ศรีโลหะสิน; Prapaporn Srilohasin; ก่อพงษ์ ทศพรพงศ์; Koapong Tossapornpong; จันทิรา สุขะสิฐษ์วณิชกุล; Junthira Sukhasitwanichkul; ณฐกร จันทนะ; Nathakron Chantana; อำนาจ คำศิริวัชรา; Amnat Khamsiriwatchara; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01)
      การเฝ้าระวังวัณโรคด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic TB surveillance) มีประโยชน์ทั้งในการเก็บข้อมูลผู้ป่วยระดับบุคคลและการวิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวม ทำให้ทราบภาพรวมและความคืบหน้าของการดูแลวัณโรคในระดับประเทศได้อย่างรวดเร็ว ...
    • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบชนิดอิมัลเจลจากควอลัมเซนซิงโมเลกุลชนิดทริปโตฟอลเพื่อการร่วมรักษาเชื้อราก่อโรคในกลุ่ม Scedosporium spp. และเชื้อราที่มีรายงานการดื้อยาต้านเชื้อรามาตรฐาน 

      ภัสเนศวร์ สุขโพธิ์เพชร; Passanesh Sukphopetch; ธิตินันท์ กิติสิน; Thitinan Kitisin; วัชรมาศ ม่วงแก้ว; Watcharamat Muangkaew; ณัตฐาวุฒิ ฐิติปราโมทย์; Natthawut Thitipramote; อานนท์ พัดเกิด; Arnon Pudgerd (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      ปัจจุบันเชื้อราก่อโรคในคนที่มีรายงานการดื้อยามีเพิ่มมากขึ้นทั่วโลก ทั้งนี้เชื้อรากลุ่มดื้อยาต้านเชื้อรามาตรฐานโดยเฉพาะกลุ่ม Azole ที่พบบ่อย ได้แก่ เชื้อราในกลุ่ม Candida albicans และ Aspergillus fumigatus กลุ่มที่พบรายงา ...
    • การพัฒนาระบบวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์การระบาดของวัณโรคดื้อยาในชุมชน โดยการศึกษาปัจจัยด้านพันธุกรรมของเชื้อวัณโรคดื้อยา ปัจจัยเจ้าบ้านที่สัมพันธ์กับอัตราการติดเชื้อวัณโรคดื้อยาทั้งจากตัวผู้ป่วยและผู้สัมผัสผู้ป่วย กระบวนการแพร่ระบาด และกระบวนการรักษาในพื้นที่ระบาดของประเทศไทย 

      หัชชา ศรีปลั่ง; Hutcha Sriplung; ณัฏฐกัญจน์ ทิพย์เครือ; Natthakan Thipkrua; สมาน ฟูตระกูล; Samarn futrakul; อิทธิพล จรัสโอฬาร; Itthipol Jarusoran; ก่อพงษ์ ทศพรพงศ์; Koapong Tossapornpong; ผลิน กมลวัทน์; Phalin Kamolwat; ไกรฤกษ์ สุธรรม; Krairurk Sutham; กันยา เอกอัศดร; Kunya Eak-usadorn; กรุณา สุขเกษม; Karuna Sukasem; ณัฐพร ไชยประดิฐกุล; Nathaporn Chaipraditkul; สายใจ สมิทธิการ; Saijai Smitthikarn; จันทิรา สุขะสิฐษ์วณิชกุล; Junthira Sukasitwanitchakul; ณฐกร จันทนะ; Nathakorn Juntana; อารียา ดิษรัฐกิจ; Areeya Ditrathakit; อุษณีย์ อึ้งเจริญ; Usanee Ungcharern (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      การศึกษาปัจจัยด้านพันธุกรรมของเชื้อวัณโรคดื้อยา ปัจจัยเจ้าบ้านที่สัมพันธ์กับอัตราการติดเชื้อวัณโรคดื้อยาทั้งจากตัวผู้ป่วยและผู้สัมผัสผู้ป่วย กระบวนการแพร่ระบาดและกระบวนการรักษา เป็นการวิจัยแบบตัดขวาง (Crossectional study) ...
    • การวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10-05)
      โครงการวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ วิจัยและพัฒนาประเด็น วิชาการ เศรษฐกิจ และสังคมเกี่ยวกับการ ...
    • การวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3 : บทความวิชาการ 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      บทความวิชาการ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3
    • การศึกษาความชุกของวัณโรคดื้อยาในเด็กไทยและเภสัชจลนศาสตร์และความปลอดภัยของยาลีโวฟอกซาซินในการรักษาวัณโรคในเด็ก 

      วรรษมน จันทรเบญจกุล; Watsamon Jantarabenjakul; ทวิติยา สุจริตรักษ์; Tavitiya Sudjaritruk; ปิยรัชต์ สันตะรัตติวงศ์; Piyarat Santarattiwong; ธันยวีร์ ภูธนกิจ; Thanyawee Puthanakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      แผนงานวัณโรคดื้อยาในเด็ก ประกอบไปด้วย 2 โครงการ คือ โครงการความชุกของวัณโรคดื้อยาในเด็กไทย และโครงการเภสัชจลนศาสตร์และความปลอดภัยของยาลีโวฟอกซาซินในการรักษาวัณโรคในเด็ก ซึ่งดำเนินงานใน 3 สถาบัน (โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ...
    • การศึกษาปัจจัยที่มีส่วนร่วมและกลไกในระดับโมเลกุลที่ส่งผลให้เชื้อวัณโรคดื้อยาหลายขนานสายพันธุ์ Beijing ST10 กาญจนบุรี ซึ่งเป็น clonal outbreak MDR-TB strain มีความสามารถพิเศษในการแพร่เชื้อและก่อโรคได้ดีกว่าสายพันธุ์อื่นในประเทศไทย (ปีที่ 2) 

      มาริสา พลพวก; Marisa Ponpuak; ภากร เอี้ยวสกุล; Pakorn Aiewsakun; เทอดศักดิ์ พราหมณะนันทน์; Therdsak Prammananan; พินิตพล พรหมบุตร; Pinidphon Prombutara; ประภาภรณ์ ศรีโลหะสิน; Prapaporn Srilohasin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      วัณโรคยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย เนื่องจากการมีอุบัติการณ์ที่เพิ่มขึ้นของการติดเชื้อดื้อยาและเชื้อดื้อยาหลายขนาน จากการศึกษาเชื้อวัณโรคดื้อยาและเชื้อวัณโรคดื้อยาหลายขนานในประเทศไทยโดยใช้เทคนิค whole genome ...
    • การศึกษาระบาดวิทยาและการควบคุมของเชื้ออซีเนโตแบคเตอร์ บอมมานิไอและเอนเทอโรแบคทีเรียซีอี ที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะคาร์บาพีเนม ในเครือข่ายโรงพยาบาลภาคใต้ตอนล่าง 

      ศรัญญู ชูศรี; Sarunyou Chusri; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong; ขจรศักดิ์ ศิลปโภชากุล; Khachornjakdi Silpapojakul; ธนภร หอทิวากุล; Thanaporn Hortiwakul; บุญศรี เจริญมาก; Boonsri Charoenmak; รัตนรุจิ พุ่มวิเศษ; Rattanaruji Pomwised (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08)
      บทนำ การติดเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะเป็นปัญหาสำคัญในระดับชาติ โดยเฉพาะกับผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และที่สำคัญพบว่าผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อจะมีอัตราการเสียชีวิตสูง มีระยะเวลาในการครองเตียงเพื่อรักษาเป็นเวลานาน ...
    • การใช้ยาปฏิชีวนะและเชื้อแบคทีเรียดื้อยาปฏิชีวนะในสัตว์เลี้ยง 

      ดุลยทรรศน์ กรณฑ์แสง; ปานเทพ รัตนากร; Dulyatad Gronsang; Parntep Ratanakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
    • คนไทยกินยาเกิน 7.6 หมื่นล้าน/ปี หมอวินิจฉัยผิด-ผู้ป่วยร้องขอมั่ว 

      กองบรรณาธิการ (2551-03)

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [621]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV