• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "การตรวจคัดกรอง"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 25

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • The potential of provider-initiated voluntary HIV counseling and testing at health care settings in Thailand 

      Yot Teerawattananon; Yuwadee Leelukhanaveera; Piya Hanvoravongchai; Montarat Thavorncharoensap; Lily Ingsrisawang; Sripen Tantivess; Usa Chaikledkaew; Narin Hiransuthikul; Chewanan Leartpiriyasuwat (Health Intervention and Technology Assessment Program, 2009-03)
      WHO and UNAIDS advocated healthcare providers to consider provider-initiated HIV counseling and testing for clients attending healthcare facilities. However, there is a lack of evidence, concerning the effectiveness of ...
    • การทบทวนข้อมูลทางคลินิกของผู้เสียชีวิตจากวัณโรคในฐานข้อมูลการสอบสวนสาเหตุการตายจากการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องในปี พ.ศ. 2562 

      วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; พรรณทิพย์ ฉายากุล; Pantip Chayakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)
      การทบทวนสาเหตุการตายของประชากรไทยโดยวิธีการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง (verbal autopsy) จำนวน 9,300 ราย คณะผู้ทบทวนรายงานว่า วัณโรคเป็นสาเหตุการตาย ร้อยละ 2.8 ในผู้ชาย และร้อยละ 1.3 ในผู้หญิง อันเป็นสาเหตุการตายลำดับที่ 10 และ ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจคัดกรองโรคไตเรื้อรังในผู้สูงอายุ 

      กฤษณี สระมุณี; Kritsanee Saramunee; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; พรชนก ศรีมงคล; Pornchanok Srimongkon; ภาณุมาศ ภูมาศ; Panumart Phumart; อารีรัตน์ ลีละธนาฤกษ์; Areerut Leelathanalerk; วิระพล ภิมาลย์; Wiraphol Phimarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ไตเรื้อรัง (Chronic kidney disease, CKD) มีความชุกสูงในประเทศไทยและมีภาระค่าใช้จ่ายในการรักษามาก มีคำแนะนำว่าการคัดกรองความเสี่ยงของภาวะ CKD จะมีประโยชน์ อายุที่มากขึ้นถือเป็นปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่งของการเกิด ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติในครรภ์ก่อนคลอดในประเทศไทย 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ปรีชญา วงษ์กระจ่าง; Preechaya Wongkrajang; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; เสริมสิริ แสงรุ่งเรืองศรี; Sermsiri Sangroongruangsri; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      ประเทศไทยมีรายงานอุบัติการณ์ของโรคโครโมโซมผิดปกติ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ในทารกแรกเกิดอยู่ระหว่าง 1 : 800 ถึง 1 : 1,000 โดยพบความเสี่ยงเพิ่มขึ้นตามอายุของมารดา อย่างไรก็ตามร้อยละ 75-80 ของทารกแรกเกิดที่มีอาการดาวน์นั้นพบว่า ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยภาวะพาหะธาลัสซีเมียในคู่สามีภรรยาในประเทศไทย 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ปรีชญา วงษ์กระจ่าง; Preechaya Wongkrajang; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; เสริมสิริ แสงรุ่งเรืองศรี; Sermsiri Sangroongruangsri; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      ความชุกของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียพบได้ประมาณร้อยละ 1 ของประชากรทั้งหมด โดยมีผู้ที่เป็นพาหะของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียประมาณร้อยละ 30-40 จึงสามารถประมาณการได้ว่าจะพบผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงรายใหม่ 5,125 คน ...
    • การประเมินเชิงเปรียบเทียบชุดตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝงจากตัวอย่างเลือด: QuantiFERON-TB Gold Plus และ QIAreach QuantiFERON-TB 

      วิพัฒน์ กล้ายุทธ; Wiphat Klayut; จณิศรา ฤดีอเนกสิน; Janisara Rudeeaneksin; โสภา ศรีสังข์งาม; Sopa Srisungngam; พายุ ภักดีนวน; Payu Bhakdeenuan; สุปราณี บุญชู; Supranee Bunchoo; จันทร์ฉาย คำแสน; Junchay Khamsaen; ปนัดดา อร่ามเรือง; Panatda Aramrueang; เบญจวรรณ เพชรสุขศิริ; Benjawan Phetsuksiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      การตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝงและการจัดการที่เหมาะสม เป็นองค์ประกอบสำคัญในการลดจำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตจากวัณโรค การตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝง ด้วยการตรวจสารอินเตอร์เฟอรอนแกมมาจากตัวอย่างเลือด มีข้อดีกว่าการทดสอบทางผิวหน ...
    • การพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ช่วยในการคัดกรองรอยโรคจากภาพถ่ายรังสีทรวงอกเพื่อคัดกรองวัณโรคปอด มะเร็งปอดและรอยโรคอื่นๆ 

      ธรรมสินธ์ อิงวิยะ; Thammasin Ingviya; สาธิต อินทจักร์; Sathit Intajag; สุภาภรณ์ กานต์สมเกียรติ; Supaporn Kansomkeat; วิวัฒนา ถนอมเกียรติ; Wiwattana Thanomkeat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      ภาพถ่ายดิจิทัลรังสีทรวงอก หรือ Digital chest x-ray image เป็นเครื่องมือวินิจฉัยทางการแพทย์ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ช่วยในการวินิจฉัยโรค ได้แก่ วัณโรคปอดและมะเร็งปอด ในการตรวจสุขภาพประจำปีอีกด้วย ในแต่ละปีมีภาพถ่า ...
    • การพัฒนาระบบการคัดกรองโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้นในระดับปฐมภูมิด้วยชุดตรวจ albuminuria 

      ณัฐชัย ศรีสวัสดิ์; Nattachai Srisawat; ไตรรักษ์ พิสิษฐ์กุล; Trirak Pisitkul; สมกัญญา ตั้งสง่า; Somkanya Tungsanga; กิตตินันท์ โกมลภิส; Kittinan Komolpis; สดุดี พีรพรรัตนา; Sadudee Peerapornratana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      โรคไตเรื้อรังถือว่าเป็นหนึ่งในปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญทั้งในระดับชาติและระดับโลก เนื่องจากมีแนวโน้มที่ผู้ป่วยจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นในแต่ละปี ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในระยะแรกจะยังไม่แสดงอาการของโรค แต่สามารถที่จะวินิจฉัยได้จากการ ...
    • การพัฒนาระบบสาธารณสุขเพื่อการตรวจคัดกรอง ตรวจวินิจฉัยและบริหารจัดการผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

      ณรงค์ ขันตีแก้ว; นิตยา ฉมาดล; พวงรัตน์ ยงวณิชย์; ไพบูลย์ สิทธิถาวร; บัณฑิต ถิ่นคำรพ; วัชรินทร์ ลอยลม; Narong Khuntikeo; Nittaya Chamadol; Puangrat Youngvanit; Paiboon Sithithaworn; Bandit Thinkhamrop; Watcharin Loilome (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      มะเร็งท่อน้ำดี (cholangiocarcinoma) คือ มะเร็งที่เกิดจากความผิดปกติของเซลล์เยื่อบุน้ำดีทั้งในและ นอกตับพบคนไทยเสียชีวิตจากโรคมะเร็งท่อน้ำดีและตับจำนวนประมาณ 10,000 – 20,000 รายต่อปี โดยกว่าครึ่งหนึ่งเป็นคนภาคตะวันออกเฉี ...
    • การพัฒนาแบบจำลองทำนายความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประเทศไทยเพื่อประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจต่อระบบหลักประกันสุขภาพและระบบสุขภาพ 

      ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai; เสกสรร เกียรติสุไพบูลย์; Seksan Kiatsupaibul; วิฐรา พึ่งพาพงศ์; Vitara Pungpapong; อรลักษณ์ พัฒนาประทีป; Oraluck Pattanaprateep; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; วศิน เลาหวินิจ; Wasin Laohavinij; จิดาภา หาญวรวงศ์ชัย; Jidapa Hanvoravongchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)
      โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบจำลองทำนายความเสี่ยง 2 แบบจำลองหลัก คือ 1.1 แบบจำลองทำนายความเสี่ยงการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากรทั่วไป และ 1.2 แบบจำลองทำนายความเสี่ยงการเกิดภาวะแทรกซ้อนและการเสีย ...
    • การระบุสารระเหยง่ายบ่งชี้และพัฒนาเครื่องตรวจวัดภาวะทางจิตจากเหงื่อแบบพกพา สำหรับคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเวช : การศึกษาพหุสถาบัน 

      ชฎิล กุลสิงห์; Chadin Kulsing; ภัทราวลัย สิรินารา; Patthrarawalai Sirinara; ชาวิท ตันวีระชัยสกุล; Chavit Tunvirachaisakul; Maes, Michael; ณัฐนี ตั้งกิจอนันต์สิน; Nuttanee Tungkijanansin; จามรี สอนบุตร; Jarmmaree Sornboot; ศรัณย์ ศรีคำ; Saran Srikam; เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช; Benjawan Thanormchayatawat; มณฑิชา เจนพานิชทรัพย์; Monthichar Chenphanitsub; สิรินาถ มีเจริญ; Sirinat Meecharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      โครงการนี้ได้พัฒนาวิธีทางเลือกสำหรับตรวจคัดกรองโรคหรือภาวะที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพทางจิต โดยเริ่มจากการทำฐานข้อมูลสารระเหยง่ายและระบุสารระเหยง่ายบ่งชี้ในเหงื่อด้วยเทคนิค Gas Chromatography-Ion Mobility Spectrometry (GC-IMS) ...
    • การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์และความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA โดยชุดเก็บตัวอย่างด้วยตัวเองในประเทศไทย 

      พจมาน พิศาลประภา; Pochamana Phisalprapa; สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ธเนศ ชัยสถาผล; Thanet Chaisathaphol; กิรติ เก่งกล้า; Kirati Kengkla; สุกฤษฏิ์ กาญจนสุระกิจ; Sukrit Kanchanasurakit; ชญานิศ โฆสิตะมงคล; Chayanis Kositamongkol; เอื้อรัตน์ มีประมูล; Euarat Mepramoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ที่มา : มะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่มีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับ 3 ในสตรีไทย แม้ว่าปัจจุบันสตรีไทยจะมีสิทธิในเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก แต่อุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทยก็ยังคงสูง ...
    • การศึกษาการใช้ Asia-Pacific Colorectal Cancer Risk Score และการตรวจหาเลือดแฝงในอุจจาระ (Fecal Immunochemical Test) ในการช่วยตรวจคัดกรองเนื้องอก ลำไส้ใหญ่ในประเทศไทย 

      รังสรรค์ ฤกษ์นิมิตร; พินิจ กุลละวณิชย์; สมบัติ ตรีประเสริฐสุข; สุพจน์ พงศ์ประสบชัย; ทวี รัตนชูเอก; ศิริบูรณ์ อัตศรัณย์; อภิชาติ แสงจันทร์; พิเศษ พิเศษพงษา; สติมัย อนิวรรณน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      มะเร็งลำไส้ใหญ่จัดเป็นมะเร็งที่พบบ่อยและเป็นสาเหตุการเสียชีวิตติดอันดับต้นๆ ของทั่วโลกและประเทศไทย การตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้จะช่วยลดอุบัติการณ์และลดอัตราการเสียชีวิตมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ อย่างไรก็ตาม การตรวจคัดกรองคำนึงถึง ...
    • การเฝ้าระวังการติดเชื้อไวรัสซาร์โควี-2 ในโรงงาน ด้วยการตรวจแอนติเจนจากน้ำลาย 

      เอกวัฒน์ ผสมทรัพย์; Ekawat Pasomsub; อังสนา ภู่เผือกรัตน์; Angsana Phuphuakrat; ปารีณา จันทร์ชมภู; Pareena Janchompoo; การัญญุตา วงษ์ทับทิม; Garanyuta Wongtabtim; พลธณัฏฐ์ ลีดอกไม้; Phonthanat Leedorkmai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)
      การระบาดของ Coronavirus 2019 หรือ COVID-19 ส่งผลให้โรงงานอุตสาหกรรมหลายแห่งต้องหยุดการทำงาน ส่งผลเสียต่อภาคอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของประเทศไทย หลังจากที่สถานการณ์ได้คลี่คลายลง เริ่มมีการแนะนำมาตรการที่จะนำมาใช้ในการเปิดการ ...
    • การเพิ่มสิทธิประโยชน์การรักษาผู้ป่วยโรค HAE (Hereditary Angioedema) ที่เกิดจากความผิดปกติของเอนไซม์ C1 esterase inhibitor: C1-INH 

      สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; พจมาน พิศาลประภา; Pochamana Phisalprapa; กิรติ เก่งกล้า; Kirati Kengkla; สุกฤษฏิ์ กาญจนสุระกิจ; Sukrit Kanchanasurakit; ชญานิศ โฆสิตะมงคล; Chayanis Kositamongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      โรค Hereditary angioedema (HAE) เป็นโรคทางพันธุกรรมหายากที่คุกคามชีวิตผู้ป่วย โรคนี้สามารถนำไปสู่การเกิดอาการกำเริบเฉียบพลัน โดยมีอาการบวมอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นในบริเวณต่างๆ เช่น ใบหน้า ทางเดินอาหารและกล่องเสียง ...
    • การใช้ระบบบูรณาการปัญญาประดิษฐ์และการติดตามการส่งต่อผู้ป่วยในการตรวจคัดกรองภาวะเบาหวานเข้าจอตาแบบแสดงผลการคัดกรองทันที 

      ไพศาล ร่วมวิบูลย์สุข; Paisan Ruamviboonsuk; กอบลาภ ธงทอง; Koblarp Thongthong; อัญรักษ์ อมรเพชรสถาพร; Anyarak Amornpetchsathaporn; เมธาพร ชัยนะกุล; Methaphon Chainakul; มาลี ตรีประชานาถ; Malee Triprachanath (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      ภาวะเบาหวานเข้าจอตาเป็นภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดขนาดเล็กที่พบได้มากในผู้ป่วยเบาหวาน อีกทั้งยังเป็นสาเหตุสำคัญของภาวะตาบอดในประชากรโลก ดังนั้นการคัดกรองเบาหวานเข้าจอตาจึงเป็นสิ่งสำคัญในระบบสาธารณสุขทั่วโลก อย่างไรก็ตามประเ ...
    • ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ผลกระทบด้านงบประมาณ และความเป็นไปได้ของมาตรการการคัดกรองเบาหวานในประชากรไทย 

      สุคนธา คงศีล; Sukhontha Kongsin; วีรชัย ศรีวณิชชากร; Weerachai Srivanichakorn; เพชร รอดอารีย์; Petch Rawdaree; ณัฐนารี เอมยงค์; Natnaree Aimyong; พิจิตรพงศ์ สุนทรพิพิธ; Pichitpong Soontornpipit; ณฐมน พรมอ่อน; Nathamon Prom-On; รมนปวีร์ บุญใหญ่; Ramonpawee Boonyai; สุขุม เจียมตน; Sukhum Jiamton (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-05)
      บทนำ: การใช้ระบบประเมินความเสี่ยงและการคัดกรอง ในผู้ที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคเบาหวาน หรือผู้ที่มีภาวะก่อนเบาหวาน มีเครื่องมือหลายอย่าง และแต่ละอย่างมีข้อดี/ข้อจำกัดในการวินิจฉัยโรคเบาหวานและการทำนายการเป็นเบาหวานในอนาคต ...
      ป้ายกำกับ:
      รายการแนะนำ
    • ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม-ทบทวนวรรณกรรม 

      เนติมา คูนีย์; Netima Cooney (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ปัจจุบันมะเร็งเต้านมยังคงเป็นสาเหตุการตายในอันดับต้นๆ ของหลายประเทศ อย่างไรก็ตาม หากตรวจพบมะเร็งตั้งแต่ระยะเริ่มแรก พบว่ามีโอกาสหายและสามารถลดอัตราการตายจากโรคได้ ดังนั้น การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมจึงเป็นเรื่องสำคัญ ...
    • ความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกในทารกแรกเกิดโดยใช้เทคโนโลยีแทนเดมแมสสเปกโทรเมทรี 

      รุ่งนภา คำผาง 1,2; Roongnapa Khampang 1,2; ภคนันท์ อังกาบ 1,2; Pakkanan Angkab 1,2; พัทธรา ลีฬหวรงค์ 1,2; Pattara Leelahavarong 1,2; วิไลลักษณ์ แสงศรี 2,3; Wilailak Saengsri 2,3; นิธิวัชร์ วัฒนวิจารณ์ 4; Nithiwat Vatanavicharn 4 (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกชนิดสารโมเลกุลเล็กในทารกแรกเกิดทุกคนโดยใช้เทคโนโลยีแทนเดมแมสสเปกโทรเมทรี (tandem mass spectrometry หรือ MS/MS) ในชุดสิทธิประโยชน์ภายใ ...
    • ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยเครื่องแมมโมแกรม 1 ครั้งในชีวิตของผู้หญิงไทย 

      ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบได้บ่อยที่สุดในผู้หญิงไทย อุบัติการณ์ คือ 25.6 คนต่อผู้หญิงไทย 100,000 คนปัจจุบันมีเพียงการตรวจคัดกรองด้วยเครื่องแมมโมแกรมที่มีหลักฐานยืนยันว่าลดอัตราการตายจากมะเร็งเต้านม แต่ด้วยข้อจำกัดด้านงบประมาณ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV