• การตายตามเศรษฐกิจสังคมของพื้นที่ 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548-09)
      การตาย เป็นผลลัพธ์ของการพัฒนาด้านสาธารณสุข และเป็นผลพวงมาจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจสังคม ด้วยเช่นกัน ทั้งนี้เนื่องจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจสังคม ในทางหนึ่ง เป็นการยกระดับความเป็นอยู่ของชีวิตให้ดีขึ้น ช่วยลดโอกาสในการสัมผัสปัจจั ...
    • การตายที่หลีกเลี่ยงได้ในประเทศไทย พ.ศ. 2552 

      ขนิษฐา กู้ศรีสกุล; Khanitta Kusreesakul; กาญจนาวดี ประสิทธิสา; Kanjanawadee Prasittisa; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      การตายที่หลีกเลี่ยงได้เป็นตัวชี้วัดหนึ่งที่สำคัญในการประเมินคุณภาพการรักษาพยาบาลหรือการพัฒนานโยบายสุขภาพของประชากรที่ใช้อย่างแพร่หลายในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยแสดงการตายจากสาเหตุที่ไม่ควรจะเกิดขึ้น หากมีมาตรการทางสุขภ ...
    • การทบทวนกระบวนทัศน์เรื่องความตายกับมิติแห่งสุขภาวะ 

      ธนา นิลชัยโกวิทย์; Tana Nilchaigowit; วริสรา กริชไกรวรรณ; วรรณา จารุสมบูรณ์; พรเลิศ ฉัตรแก้ว; Warisara Krikhaiwan; Wanna Jarusomboon; Pornlert Charkaeow (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      โครงการนี้เป็นหัวข้อหนึ่งของการศึกษาทบทวนกระบวนทัศน์สุขภาพซึ่งหยิบยกเอาประเด็นเรื่องความตายและการจัดการความตายขึ้นมาพิจารณา โดยคาดหวังว่าผลการศึกษานี้จะเป็นจุดเริ่มต้นให้ผู้คนในสังคมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหันมาทบทวนแนวค ...
    • การพัฒนารูปแบบนำร่องเพื่อพัฒนาคุณภาพข้อมูลสาเหตุการตาย กรณีการตายนอกสถานพยาบาลใน 12 เขตสุขภาพ 

      กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; รักษพล สนิทยา; Rugsapon Sanitya; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; จักร์วิดา อมรวิสัยสรเดช; Chakvida Amornvisaisoradej (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)
      ข้อมูลสาเหตุการตายมีความสำคัญ ซึ่งสะท้อนปัญหาสุขภาพของประชากร โดยข้อมูลสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการประเมินติดตามผลการดำเนินงานของระบบสุขภาพ รวมถึงเป็นข้อมูลสำคัญในการวางแผนพัฒนางานสาธารณสุขระดับชาติ แม้ระบบการรายงานการตายข ...
    • การศึกษาสถานการณ์และพยากรณ์การตายก่อนวัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อตามเป้าหมายระดับโลก พ.ศ. 2543-2573 

      ขนิษฐา กู้ศรีสกุล; Khanitta Kusreesakul; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การเสียชีวิตก่อนวัยอันควรของประชากรไทยช่วงอายุ 30-70 ปี จากโรคไม่ติดต่อ (noncommunicable diseases: NCDs) 4 กลุ่มโรค ได้แก่ กลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด กลุ่มโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน ...
    • การศึกษาเอกโซมของผู้เสียชีวิตกลุ่มอาการตายโดยมิปรากฏเหตุแบบฉับพลันในกลุ่มประชากรไทยที่เสียชีวิตในอายุน้อย 

      กรเกียรติ วงศ์ไพศาลสิน; Kornkiat Vongpaisarnsin; ทิฆัมพร สถิรแพทย์; Tikumphorn Sathirapatya; ปุณยภัทร สุขวุฒิยา; Poonyapat Sukawutthiya; ฮัสนีย์ โนะ; Hasnee Noh; ภัคค์ปภัส วรัชต์ญารมย์; Pagparpat Varrathyarom; รัชติพรรณ ปิติวรารมย์; Rachtipan Pitiwararom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)
      การตรวจสารพันธุกรรมเพื่อใช้ในการหาปัจจัยทางพันธุกรรมที่เป็นสาเหตุของการก่อโรคหรือมีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรคนั้น ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายทางการแพทย์ในปัจจุบัน ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการค้นหายีนก่อโรคที่หายากหรือโรคที่มีปัจจัย ...
    • การศึกษาแนวโน้มการเจ็บป่วยและการตายโดยแยกตามกลุ่มอายุ เพศ และภาค พ.ศ.2524-2536 

      นฤมล ศิลารักษ์; Narumon Silarak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญีในประเทศไทย และการค้นหาปัจจัยเกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาแนวทางป้องกันเชิงระบบ 

      สมรัตน์ จารุลักษณานันท์; Somrat Charulaksananan; ยอดยิ่ง ปัญจสวัสดิ์วงศ์; สุวรรณี สุรเศรณีวงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวางระบบการศึกษาภาวะแทรกซ้อนที่สําคัญทางวิสัญญีในโรงพยาบาล 20 โรงพยาบาลในประเทศไทย ได้แก่ โรงเรียนแพทย์ 7 แห่ง, โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ 5 แห่ง, โรงพยาบาลทั่วไป 4 แห่งและโรงพยาบาลชุมชน 4 ...
    • ก่อนจะไม่มีตัวตน: การเลือกรูปแบบการตายในระยะสุดท้ายของชีวิต 

      อัจฉรา บุญสุข (สถานีอนามัยบ้านสะลวงนอก, 2552-07-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 1 : R2R in Primary care แนะนำ 10 ผลงาน R2R ดีเด่น ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิจัย ...
    • ความแตกต่างของการตายระหว่างพื้นที่ 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548)
      ความตาย เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ในทางความเชื่อ หลายคนอาจจะมองว่า การตายเป็นสิ่งที่ถูกกำหนดไว้แล้วล่วงหน้า หรือเป็นผลมาจากกรรมเก่า ที่มนุษย์ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ อันเป็นไปตามธรรมชาติ หรือวิบากกรรมของแต่ละคน แต่ใน ...
    • ภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ.2547 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-02)
      ผลการศึกษาของโครงการศึกษาพัฒนาการดำเนินการจัดทำเครื่องชี้วัดภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทยพบว่าภาระทางสุขภาพจากโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทยปี พ.ศ. 2547 สรุปได้ดังต่อไปนี้ การคาดประมาณอายุขัยเฉลี่ยประชากรไทยปี พ.ศ. ...
    • สงสัยตายเพราะหมอ 

      อรสม สุทธิสาคร; Orasom Suthisakorn (สารคดี, 2549)
      สงสัยตายเพราะหมอ มิใช่หนังสือที่ต้องการกล่าวโทษหรือประณามคุณหมอ แต่มุ่งหวังอย่างจริงจังเพื่อให้เรื่องราวของความผิดพลาดทางการแพทย์นี้เป็นกรณีตัวอย่างเพื่อการศึกษา ด้วยความเชื่ออย่างบริสุทธิ์ใจ ว่าคงไม่มีหมอท่านใด ...
    • สาเหตุการตาย ICD-10 

      วรรษา เปาอินทร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08)
    • สาเหตุการตายในประเทศไทย ระยะที่ 1 จำนวน 5 จังหวัด ขอนแก่น นครศรีธรรมราช นครสวรรค์ น่าน ระนอง และกรุงเทพมหานคร 4 เขต บางเขน สายไหม ดอนเมือง และหลักสี่ 

      จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ; Chanpen Choprapawon; เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; อรุณ จิรวัฒน์กุล; วรรษา เปาอินทร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • อัตราตายระดับจังหวัด พ.ศ. 2548 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; ณรงค์ กษิติประดิษฐ์; อรพิน ทรัพย์ล้น (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-11)
      อัตราตาย ระดับจังหวัด มีความสำคัญในการใช้เปรียบเทียบ ความแตกต่างของการตายโดยเฉพาะรายสาเหตุ ระหว่างจังหวัด ซึ่งจะช่วยในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาพของจังหวัด และช่วยในการวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพ รวมทั้งจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ ...
    • อัตราตายระดับจังหวัด พ.ศ. 2549 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; ณรงค์ กษิติประดิษฐ์; อรพิน ทรัพย์ล้น (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-12)
      อัตราตาย ระดับจังหวัด มีความสำคัญในการใช้เปรียบเทียบ ความแตกต่างของการตายโดยเฉพาะรายสาเหตุ ระหว่างจังหวัด ซึ่งจะช่วยในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาพของจังหวัด และช่วยในการวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพ รวมทั้งจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ ...