• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "การติดเชื้อ"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-14 จาก 14

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การป้องกันการติดเชื้อดื้อยาในหออภิบาลผู้ป่วย 

      อะเคื้อ อุณหเลขกะ; สุชาดา เหลืองอาภาพงศ์; จิตตาภรณ์ จิตรีเชื้อ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)
      โครงการวิจัยและพัฒนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อและการติดเชื้อดื้อยาที่เหมาะสมที่หออภิบาลผู้ป่วยของโรงพยาบาลระดับทุติภูมิและตติยภูมิสามารถนำไปปฏิบัติได้ รวมทั้งเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ...
    • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบชนิดอิมัลเจลจากควอลัมเซนซิงโมเลกุลชนิดทริปโตฟอลเพื่อการร่วมรักษาเชื้อราก่อโรคในกลุ่ม Scedosporium spp. และเชื้อราที่มีรายงานการดื้อยาต้านเชื้อรามาตรฐาน 

      ภัสเนศวร์ สุขโพธิ์เพชร; Passanesh Sukphopetch; ธิตินันท์ กิติสิน; Thitinan Kitisin; วัชรมาศ ม่วงแก้ว; Watcharamat Muangkaew; ณัตฐาวุฒิ ฐิติปราโมทย์; Natthawut Thitipramote; อานนท์ พัดเกิด; Arnon Pudgerd (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      ปัจจุบันเชื้อราก่อโรคในคนที่มีรายงานการดื้อยามีเพิ่มมากขึ้นทั่วโลก ทั้งนี้เชื้อรากลุ่มดื้อยาต้านเชื้อรามาตรฐานโดยเฉพาะกลุ่ม Azole ที่พบบ่อย ได้แก่ เชื้อราในกลุ่ม Candida albicans และ Aspergillus fumigatus กลุ่มที่พบรายงา ...
    • การพัฒนาระบบการป้องกันและดูแลรักษา Necrotizing fasciitis ครบวงจรในจังหวัดยโสธร 

      ธิดา ยุคันตวรานันท์; Thida Yukantavaranan (โรงพยาบาลยโสธร, 2552-07-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 3 : R2R in Tertiary care แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิจัย R2R 9 กรณีศึกษาที่ได้รับรางวัลดีเด่น ...
    • การพัฒนาระบบเครือข่ายการเฝ้าระวังการติดเชื้อแผลผ่าตัดในโรงพยาบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย 

      นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล; Nongyao Kasatpibal (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การเฝ้าระวังการติดเชื้อที่ตําแหน่งผ่าตัดของประเทศไทยในปัจจุบัน มีความแตกต่างกันอย่างมาก ทําให้ข้อมูลไม่สามารถนํามาเปรียบเทียบกันได้ การพัฒนาระบบเครือข่ายการเฝ้าระวังการติดเชื้อตําแหน่งผ่าตัดเป็นวิธีการสําคัญในการพัฒนามาต ...
    • การศึกษาประสิทธิภาพของ Fungal quorum sensing molecule ชนิด Farnesol ต่อพยาธิกำเนิดและปัจจัยส่งเสริมความรุนแรงของโรคในเชื้อรา Pseudallescheria/ Scedosporium complex (ปีที่ 2) 

      นัฎฐเนศวร์ ลับเลิศลบ; Natthanej Luplertlop; สุเมธ อำภาวงษ์; Sumate Ampawong; ยุวดี มหาคุณกิจเจริญ; Yuvadee Mahakunkijcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      โรค Scedosporiosis ในประเทศไทยส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ Scedosporium boydii ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าสามารถทนต่อยาต้านเชื้อราและเป็นสาเหตุสำคัญทำให้เสียชีวิตจากการติดเชื้อ อวัยวะส่วนใหญ่ที่แสดงพยาธิสภาพของโรคคือสมองบวมและความผิ ...
    • การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการลดอัตราการติดเชื้อที่แผลผ่าตัดของการเย็บแผลในภายหลังเทียบกับการเย็บแผลทันทีในผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบที่มีเนื้อตายหรือแตกทะลุ 

      บุญยิ่ง ศิริบำรุงวงศ์; อนุวัชช์ จันทร์ทิพย์; พินิจ หนูฤทธิ์; วินัย อึงพินิจพงศ์; ปรัชญา โชติยะ; จุมพล วิลาศรัศมี; อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร; บวรศม ลีระพันธ์; ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; Attia, John (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-08)
      การศึกษานี้จัดทำเพื่อศึกษาเปรียบเทียบอัตราการติดเชื้อที่แผลผ่าตัดระหว่างการเย็บปิดแผลทันทีและการเย็บปิดแผลในภายหลังในผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบที่มีเนื้อตายหรือแตกทะลุ โดยเป็นการศึกษาแบบสุ่มแบบสหสถาบันในผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบที่ ...
    • คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียด้วยยาปฏิชีวนะที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 

      Visanu Thamlikitkul; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล (โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย, 2558-05)
      มนุษย์มียาต้านจุลชีพขนานแรกๆ เมื่อประมาณ 70 ปีก่อน ในครั้งนั้น ยาต้านจุลชีพ ได้รับการขนานนามว่า “ยาปาฏิหาริย์” (miracle drug หรือ wonder drug) เนื่องจากยานี้ทำให้มนุษย์จำนวนมากรอดตายจากการติดเชื้อ องค์การวิชาชีพหลายแห่งเ ...
    • จีโนมิกส์ของเชื้อ Methicillin-resistant Staphylococcus aureus สายพันธุ์ที่มีกำเนิดในโรงพยาบาล ชุมชน และปศุสัตว์ เพื่อการประยุกต์ใช้ทางการแพทย์และสาธารณสุข 

      อุษณีย์ วัฒนนันท์กุล; Usanee Wattananandkul; ศิริพงษ์ ตองใจ; Siripong Tongjai; ปาริชาติ สาลี; Parichat Salee; นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล; Nongyao Kasatpibal; วสันต์ กาติ๊บ; Wasan Katip; หทัยรัตน์ ธนัญชัย; Hathairat Thananchai; ผดุงเกียรติ แข็มน้อย; Phadungkiat Khamnoi; ขจรศักดิ์ ตระกูลพัว; Khajornsak Tragoolpua; กัญญา ปรีชาศุทธิ์; Kanya Preechasuth (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      เชื้อ Methicillin-Resistant Staphylococcus Aureus (MRSA) เป็นหนึ่งในแบคทีเรียดื้อยาสำคัญ เนื่องจากมีความหลากหลายทางพันธุกรรมและระบาดวิทยาสูง พบได้ทั่วโลกและสามารถทำให้เกิดการติดเชื้อได้ทั้งในโรงพยาบาล ชุมชนและปศุสัตว์ ...
    • ผลกระทบด้านสุขภาพและเศรษฐศาสตร์จากการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย 

      ภาณุมาศ ภูมาศ; สุพล ลิมวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12-20)
      การติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพเป็นปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยและมีความสำคัญทั้งการติดเชื้อในโรงพยาบาลและการติดเชื้อในชุมชน การติดเชื้อในโรงพยาบาลมักเกิดจากการติดเชื้อที่ดื้อยาต้านจุลชีพ การดื้อยาต้านจุลชีพของ Acinetobactor baumannii, ...
    • ผลกระทบด้านสุขภาพและเศรษฐศาสตร์จากการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย : การศึกษาเบื้องต้น 

      ภาณุมาศ ภูมาศ; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; ภูษิต ประคองสาย; ตวงรัตน์ โพธะ; อาทร ริ้วไพบูลย์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Panumart Phumart; Tuangrat Phodha; Visanu Thamlikitkul; Arthorn Riewpaiboon; Phusit Prakongsai; Supon Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      การศึกษานี้ประเมินผลกระทบของการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพต่อสุขภาพและความสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศไทยด้วยมุมมองของสังคม โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิของผู้ป่วยที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลทุกระดับและข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาล 1,023 ...
    • ภาวะปอดอักเสบติดเชื้อจากการใช้เครื่องช่วยหายใจและการเปลี่ยนชุดสายต่อเครื่องช่วยหายใจ 

      อัมพาภรณ์ เตชธนางกูร; พรรณิภา สืบสุข; พวงทอง ศิริพานิช; สุรีย์ สมประดีกุล (โรงพยาบาลศิริราช, 2552-07-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 4 : R2R in Excellent center แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิจัย 5 กรณีศึกษาที่ได้รับรางวัล ...
    • แนวปฏิบัติการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาและการติดเชื้อจากการสอดใส่อุปกรณ์การแพทย์ 

      อะเคื้อ อุณหเลขกะ (โรงพิมพ์มิ่งเมือง, 2557-03)
      การติดเชื้อในโรงพยาบาลจากเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อยาต้านจุลชีพหลานขนานมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการสอดใส่อุปกรณ์ทางการแพทย์เข้าสู่ร่างกายของผู้ป่วย โรงพยาบาลหลายแห่งพบว่า เชื้อแบคทีเรียดื้อยาเป็นสาเหตุสำคัญข ...
    • แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; คณะกรรมการประสานและบูรณาการงานดื้อยาต้านจุลชีพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      ยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial Resistance) โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาต้านจุลชีพที่มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการแพทย์และการสาธารณสุข เนื่องจากใช้เพื่อป้องกันและรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ...
    • โรคปอดอักเสบจากการติดเชื้อในโรงพยาบาลในผู้ใหญ่ สาเหตุและความชุกของการดื้อต่อยาปฏิชีวนะช่วงปี พ.ศ. 2554-2555 โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี 

      ภริตา บุญรักษา; Pharita Boonraksa; คมกฤษณ์ ปัญญวัฒนกิจ; Komkrit Punyawattanakit; ทอม กำภู ณ อยุธยา; Tom Kambhu Na Ayudhya; วีรวรรณ แก้วทอง; Veerawan Kaewthong; กชกร พงศ์พิศาล; Kotchakorn Pongpisarl; วิน เตชะเคหะกิจ; Win Techakehakij (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      โรคปอดอักเสบจากการติดเชื้อในโรงพยาบาลเป็นหนึ่งในปัญหาการติดเชื้อภายในโรงพยาบาลที่พบบ่อยที่สุด มีความสัมพันธ์กับอัตราการเสียชีวิตที่สูงในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่รักษาตัวที่โรงพยาบาล งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของเชื้ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV