• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "การสร้างเสริมสุขภาพ"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 107

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • Taichi and the Blinds ถอดบทเรียนโครงการสร้างเสริมสุขภาพคนพิการทางการเห็นในชุมชน 

      กนกพร อัศวเมธิกาพงศ์; ณัฐวรรณ ชูสุวรรณ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-12)
      โครงการสร้างเสริมสุขภาพคนพิการทางการเห็นในชุมชน เป็นโครงการที่มุ่งหวังให้ครูฝึกทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว หรือ O&M ได้สามารถนำเครื่องมือที่เคยได้เรียนรู้จากการอบรมร่วมกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ...
    • UCS กับผลกระทบต่อระบบส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 

      สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ (กรมอนามัย, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • UCS กับผลกระทบต่อระบบส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 

      สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ (กรมควบคุมโรค, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • You can do it : designed by disability 

      ภัทรีพันธ์ พงศ์วัชร์; เบญจางค์ สุขจำนงค์; นริศา ปิ่นวาสี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-12)
      งานสร้างเสริมสุขภาพประชาชน ไม่ได้เป็นการทำงานด้านสาธารณสุขอย่างเดียวเท่านั้นแต่ยังมีอีกหลากหลายมิติที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ล้วนแล้วแต่มีความเกี่ยวข้องและเป็นป ...
    • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบทบาทองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้างเสริมสุขภาพ 

      หทัยชนก สุมาลี; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; จิรบูรณ์ โตสงวน; Hathaichanok Sumalee; Siriwan Pitayarangsarit; Jiraboon Tosanguan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
      ในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพมีกฎหมายมาเกี่ยวข้องมากมายหลายฉบับ แม้แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ก็ยังได้บัญญัติให้รับรองสิทธิของบุคคลในการรับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ รับรองสิทธิของบุคคลในการได้รับข ...
    • กฏบัตรออตตาว่าด้วยการสร้างเสริมสุขภาพและข้อเสนอแนะต่อนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ 

      ดวงใจ รุ่งโรจน์เจริญกิจ; Duangchai Rungrotcharoenkit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      คําประกาศอัลมา-แอตตา (The Declaration of Alma-Ata) ในทศวรรษที่ผ่านมาถือเป็นก้าวสําคัญในการเคลื่อนไหวเรื่อง สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All) นับตั้งแต่มีการเริ่มต้นประชุมสมัชชาสุขภาพโลกเมื่อค.ศ. 1977 การเคลื่อนไหวครั้งนี ...
    • การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล:ประสบการณ์การทำงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ 

      วัชรา ริ้วไพบูลย์; ปัทมา ศิริเวช; พรรณพิมล วิปุลากร; ชาติชาย มุกสง; แพรว เอี่ยมน้อย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ โดยเป็นแผนงานวิจัยหนึ่งที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง มีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) เป็นกลไกสำคัญ เมื่อรัฐบาลมีนโยบายในกา ...
    • การจัดและการใช้บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเด็กอายุ 0-5 ปี ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ประคิณ สุจฉายา; Prakin Suchaxaya; ศรีมนา นิยมค้า; Srimana Niyomkar; อมรรัตน์ งามสวย; Amornrat Ngamsuoy (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      เด็กอายุ 0-5 ปี เป็นเด็กที่มีพัฒนาการและการเจริญเติบโตรวดเร็ว และมีปัญหาความเสี่ยงด้านสุขภาพและด้านพัฒนาการต่างๆ การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในเด็กกลุ่มนี้จึงเป็นเป้าหมายสำคัญในการดูแลเด็ก งานวิจัยเชิงพรรณานาน ...
    • การถ่ายทอดหลักฐานวิชาการกิจกรรมทางกายสู่นโยบายการสร้างเมืองที่กระฉับกระเฉง: การทบทวนวรรณกรรมแบบย่อ 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ หมวดที่ 11 มุ่งมั่นให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความครอบคลุม ปลอดภัย มีภูมิต้านทานและยั่งยืน เนื่องด้วยการขยายตัวของเมืองที่รวดเร็วส่งผลต่อการเพิ่มภาระโรคไม่ติดต่ออันเนื่อง ...
    • การบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของสิบสององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย 

      ธีรพงษ์ คำพุฒ; Theerapong Khamput; กิตติพงษ์ ภัสสร; Kittipong Patsorn; ธวัชชัย ทองบ่อ; Tawadchai Thongbo; เศวต เซี่ยงลี่; Sawed Seunglee; ธวัชชัย แคใหญ่; Tawatchai Keryai; วัชรินทร์ แสงสัมฤทธิ์ผล; Watcharin Sangsamritpol; มังกร พวงครามพันธุ์; Mungkorn Puangkrampun; จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jiraporn Kamonrungsan; ปทุมรัตน์ สามารถ; Pathumrat Samart; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      การส่งเสริมกิจกรรมทางกายต้องอาศัยความร่วมมือในการทำงานจากหลากหลายภาคส่วน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีโครงสร้างการบริหารงานที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้กับประชาชนในพื้นที่ชุมชนของตน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึ ...
    • การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่ในกลุ่มคนงานก่อสร้าง: การวิจัยเพื่อวางแผนการสื่อสารด้านสุขภาพ 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; เชิญขวัญ ภุชฌงค์; ทรงยศ พิลาสันต์; กัลยา ตีระวัฒนานนท์; ศิริญญา ธีระอนันต์ชัย; รุ่งนภา คำผาง; รักมณี บุตรชน; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Jomkwan Yothasamut; Choenkwan Putchong; Songyot Pilasant; Kanlaya Teerawattananon; Sirinya Teeraananchai; Roongnapa Khamphang; Rukmanee Butchon; Sripen Tantivess; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพในกลุ่มคนงานก่อสร้างทั้งในระดับบุคคลและชุมชน รวมถึงมาตรการสร้างเสริมสุขภาพที่มีอยู่ในปัจจุบัน เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนามาตรการเหล่านั ...
    • การบูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : ทันตสุขภาพ 

      อัฏฮียะห์ มูดอ (สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้(สวรส.ภาคใต้)มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2552-05)
      การศึกษาทบทวน เรื่อง บูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : ทันตกรรม โดยศึกษาและรวบรวมองค์ความรู้ด้านทันตกรรมจากหลักศาสนา คุณธรรม จริยธรรมของอิสลาม ข้อมูลที่ได้สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในการให้ประชาชน ...
    • การบูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : สุขภาพจิต 

      อิสมาอีล โดยิ (สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2552-06)
      การศึกษาทบทวน เรื่อง บูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : สุขภาพจิต โดยศึกษาและรวบรวมองค์ความรู้ด้านสุขภาพจิตจากหลักศาสนา คุณธรรม จริยธรรมของอิสลาม ข้อมูลที่ได้สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในการให้ประชาชน ...
    • การบูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : อาหารและโภชนาการ 

      ซอฟียะห์ นิมะ; ยูซูฟ นิมะ (สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้(สวรส.ภาคใต้)มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุข, 2552-07)
      เอกสารฉบับนี้นำเสนอสถานการณ์ ปัญหาด้านอาหารและโภชนาการ ตัวชี้วัดสถานะ บทบัญญัติและวัฒนธรรมอิสลาม งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาอาหารและโภชนาการ พร้อมกันนี้ได้วิเคราะห์ถึงมาตรการที่จะแก้ไขปัญหา จากงานวิจัยและบัญญัต ...
    • การบูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : โรคเรื้อรัง(โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง) 

      มะหามะ เมาะมูลา; ยูซูฟ นิมะ (สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุข, 2552-05)
      เอกสารฉบับนี้นำเสนอสถานการณ์ ปัญหา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคเรื้อรังสามโรค คือ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง พร้อมกันนี้ได้วิเคราะห์ถึงมาตรการที่จะแก้ไขปัจจัยเสี่ยงของโรคดังกล่าวจากงานวิจัยและบท ...
    • การประชุมระดับโลกว่าด้วยการสร้างเสริมสุขภาพครั้งที่ 6 ณ กรุงเทพฯ ประเทศไทย7-11 สิงหาคม2548 : เอกสารแปลสำหรับประกอบการประชุม 

      แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ; เบญจรัตน์ แซ่ฉั่ว, ผู้แปล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
    • การประยุกต์ใช้ระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมในระบบบริการสุขภาพภาครัฐทั้งสามระดับต่อการสร้างเสริมสุขภาพและการจัดบริการที่สอดคล้องกับบริบทภูมิสังคมในจังหวัดชายแดนใต้ 

      ซอฟียะห์ นิมะ; Sawpheeyah Nima; พาตีเมาะ นิมา; Patimoh Nima; อิลฟาน ตอแลมา; Ilfarn Tolaema (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-25)
      ภูมิหลังปัญหา: จังหวัดชายแดนใต้ ประกอบด้วย จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาสและ 4 อำเภอจังหวัดสงขลา คือ นาทวี จะนะ เทพาและสะบ้าย้อย ถือเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายของวิถีชีวิตภายใต้กรอบความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรมและกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ...
    • การประเมินการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับกองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุธีนุช ตั้งสถิตย์กุลชัย; Suteenoot Tangsathitkulchai; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; เพียร เพลินบรรณกิจ; Pien Pleonbannakit; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      การศึกษานี้สนใจศึกษางบประมาณ 4 ส่วนที่เกิดจากวิธีการจัดสรรของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้แก่ งบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อเร่งรัดการเข้าถึงบริการ เพื่อชุดสิทธิประโยชน์ เพื่อการดำเนินงานในชุมชน ...
    • การประเมินความเป็นไปได้และความคุ้มค่าในการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ผ่านสายด่วนตั้งครรภ์ไม่พร้อม ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; ภิชารีย์ กรุณายาวงศ์; Picharee Karunayawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; มันตา กรกฎ; Manta Korakot; อธิพร เรืองทวีป; Atiporn Rueangthaweep; นภดล พิมสาร; Nopphadol Pimsarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-08)
      การยุติการตั้งครรภ์ หรือการทำแท้งในประเทศไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2554-2563 มีสัดส่วนเพิ่มสูงขึ้น โดยปัจจัยสำคัญของการยุติการตั้งครรภ์ คือ สภาพเศรษฐกิจและสังคม และปัจจัยด้านสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งหน่วยงานภาครัฐได้มีการพัฒนาร ...
    • การประเมินผลลัพธ์ของการดำเนินมาตรการสร้างเสริมสุขภาพ : การประเมินความเต็มใจจ่ายของครัวเรือนต่อมาตรการสร้างเสริมสุขภาพของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 

      พัทธรา ลีฬหวรงค์; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; รุ่งนภา คำผาง; ทรงยศ พิลาสันต์; สุมาลัย สมภิทักษ์; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-02)
      การประเมินผลลัพธ์ของการดำเนินมาตรการสร้างเสริมสุขภาพ ในรูปแบบของการประเมินความเต็มใจ จ่ายของครัวเรือนต่อมาตรการสร้างเสริมสุขภาพของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณค่าที่ประช ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV