เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "นโยบายสุขภาพ"
แสดงรายการ 1-20 จาก 30
-
กระบวนการสังเคราะห์ข้อมูลอย่างเร็วเพื่อตอบคำถามเชิงนโยบายสาธารณสุข เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบสาธารณสุขไทย และการกระจายอำนาจด้านสุขภาพสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-08)การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ (health technology assessment, HTA) และข้อมูลวิชาการต่าง ๆ เป็นเครื่องมือสำคัญเพื่อประกอบการกำหนดนโยบายของผู้กำหนดนโยบาย อย่างไรก็ตามกระบวนการ HTA และสังเคราะห์ข้อมูลวิชาการที่จำเป็นเหล่านี้ ... -
การถอดบทเรียนเพื่อนําไปสู่ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนานโยบายการบําบัดทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-01)หลักการและเหตุผล : ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (End stage kidney disease, ESKD) เป็นโรคที่คุกคามชีวิตผู้คนจำนวนมาก ซึ่งผู้ป่วยจำเป็นต้องเข้ารับการบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งเพื่อให้มีชีวิตยืนยาว ประเทศไทยเริ่มให้สิทธิใน ... -
การบริหารยุทธศาสตร์และนโยบายสุขภาพระดับชาติของประเทศแคนาดา ออสเตรเลีย และเกาหลีใต้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-04-16)การศึกษาทบทวนการบริหารยุทธศาสตร์และนโยบายสุขภาพระดับชาติ ของประเทศแคนาดา ออสเตรเลีย และเกาหลีใต้ ซึ่งมีประสบการณ์ในการพัฒนาสุขภาพทั้งด้านการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ตลอดจนการลดปัจจั ... -
การประเมินกระบวนการนำมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติ : ความก้าวหน้าและเกณฑ์การคัดเลือกมติเพื่อการประเมินเชิงนโยบาย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-05)การจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติที่ผ่านมา 3 ครั้ง ได้มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติรวม 34 มติ โดยมีระบบผลักดันและขับเคลื่อนผ่าน 5 ช่องทาง คือ 1) เสนอมติฯ ผ่าน คสช. เพื่อเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาให้ความเห็นชอบและมอบหมายหน่วยงานที ... -
การประเมินกระบวนการนำมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติระยะที่ 2 : กรณีศึกษา 6 มติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)การศึกษาเชิงวิเคราะห์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการนำมติสมัชชาไปสู่การปฏิบัติ และพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายต่อกระบวนการสมัชชา ด้วยการทบทวนเอกสาร ศึกษาเชิงปริมาณและคุณภาพ ประชากรที่ศึกษาคือ คณะกรรมการขับเคลื่อนและผู้เก ... -
การประเมินผลกระทบการให้วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบีในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแห่งชาติ หลังจากดำเนินการมา 30 ปี และความชุกของโรคตับอักเสบ เอ บี และซี ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-02)ไวรัสตับอักเสบเป็นปัญหาทางสาธารณสุขของประชากรโลก สำหรับประเทศไทย ไวรัสตับอักเสบเป็นปัญหาที่สำคัญ เพราะทำให้เกิดโรคตับอักเสบเฉียบพลัน เรื้อรัง ตับแข็ง และมะเร็งตับ รวมทั้งเป็นสาเหตุให้เพศชาย พบมะเร็งตับสูงที่สุดในบรรดามะเร็งทั้งหมด ... -
การประเมินผลเชิงพัฒนานโยบาย 30 บาทรักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว ในพื้นที่นําร่อง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-01)นโยบาย “30 บาท รักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว” เป็นนโยบายภาครัฐจากแผนขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2567 ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับระบบบริการสุขภาพให้เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพจากหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระ ... -
การประเมินแผนงานประเมินเทคโนโลยีและนโยบายเพื่อการลงทุนด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-04)สืบเนื่องจากการประเมินยุทธศาสตร์หลักของ HITAP ที่คณะผู้ประเมินชาวไทยและอังกฤษได้ทําการตรวจสอบในปี 2551/52 ตามความต้องการของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 1 ในปี 2554 HITAP ได้ริเริ่มให้มีการประเมินครั้งที่สอง ... -
การพัฒนาชุดตัวชี้วัดระบบสุขภาพเพื่อติดตาม ประเมินผล และจัดทำรายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพไทย ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เรื่อง ระบบสุขภาพชุมชนเมือง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-03)ที่มาและความสำคัญ: การขยายตัวของความเป็นเมืองในประเทศไทยก่อให้เกิดความท้าทายใหม่ในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน โดยเฉพาะในประเด็นสุขภาวะเขตเมืองที่ซับซ้อนและแตกต่างจากบริบทชนบท ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 3 พ.ศ. ... -
การพัฒนาตัวชี้วัดและจัดทำรายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพไทย ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 หมวดการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)มาตรา 25(5) และ มาตรา 27(3) แห่งพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 กำหนดให้คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ มีหน้าที่และอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการติดตามและประเมินผลเกี่ยวกับระบบสุขภาพแห่งชาติ และให้สำนักงานคณะกรรมการส ... -
การพัฒนาตัวชี้วัดและจัดทำรายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพไทย ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เรื่องการเงินการคลังด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)งานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 3 พ.ศ. 2565 ซึ่งกำหนดให้คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติติดตามและประเมินผลสถานการณ์ระบบสุขภาพ และมีการทบทวนธ ... -
การวิจัยเชิงสังเคราะห์ : การพัฒนาชุดตัวชี้วัดระบบสุขภาพ ติดตาม ประเมินผล เพื่อจัดทำรายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพไทย ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เรื่องกำลังคนด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)จากธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2565 มีเป้าหมายในระยะ 5 ปี เพื่อให้มีการกระจายบุคลากรระหว่างพื้นที่มีความเป็นธรรม มีการปรับการทำงานจากเชิงกายภาพสู่ดิจิทัล และมีระบบการศึกษา การผลิต และการพัฒนากำลังคนด้ ... -
การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญของพืชกัญชาในอาหาร เครื่องดื่ม เครื่องปรุงและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่มีส่วนผสมของกัญชา/กัญชง: แนวทางเชิงนโยบายระบบสุขภาพ ลดการเข้าถึงในกลุ่มเปราะบางที่เป็นเด็กและเยาวชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10)ที่มา: กัญชา (Cannabis sativa L.) เป็นพืชที่ได้รับความสนใจในวงการแพทย์และสาธารณสุข เนื่องจากมีสารสำคัญที่สามารถนำมาใช้ในทางการแพทย์ได้ เช่น กระตุ้นการอยากอาหาร ลดความเครียด และลดอาการชัก อย่างไรก็ตาม ความนิยมในการผสมกัญช ... -
การศึกษาผลของนโยบายการแพทย์ทางไกลภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2565-2567
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10-14)ภูมิหลัง ในปี พ.ศ. 2566 มูลนิธิเพื่อการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP Foundation) ได้ดำเนินการศึกษาในหัวข้อ “การจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อสนับสนุนการพัฒนาแนวปฏิบัติและแนวทางการติดตามประเมินผลของระบบการแพทย์ทางไกล ... -
การสำรวจพฤติกรรมการใช้กัญชาและสารเสพติดในประชากรไทย ผลกระทบจากกัญชาต่อความเป็นธรรมทางสุขภาพ และต้นทุนการเจ็บป่วยจากการใช้กัญชา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10-09)การนำพืชกัญชาออกจากบัญชียาเสพติดให้โทษประเภท 5 ในปี พ.ศ. 2565 โดยมีการอนุญาตให้ปลูก จำหน่าย และทำให้เกิดการใช้กัญชาได้ในประเทศไทยนอกหนือจากการใช้ทางการแพทย์ จำเป็นต้องมีการประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องถึงจำนวน ... -
ความสอดคล้องของนโยบายเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมยาต่อการสร้างความมั่นคงทางยาในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-04)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความมั่นคงทางยา (Drug Security) ของประเทศไทย วิเคราะห์เชิงลึกตามกรอบแนวคิด SUPERB ซึ่งประกอบด้วย 1. Self-sufficient: การพึ่งพาตนเองและความสามารถในการผลิตภายในประเทศรวมทั้งมีเหลือเพื่อส่งออก ... -
ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพไทย: ประสบการณ์ของผู้บริหารระดับสูงกระทรวงสาธารณสุข
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อให้ประชาชนไทยมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพโดยไม่มีอุปสรรคทางด้านการเงิน และส่งผลให้เกิดความเป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ผู้บริหารระ ... -
ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร และแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ... -
ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรและแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ... -
ทิศทางการพัฒนา และนโยบายสุขภาพกรณีโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในบริการปฐมภูมิ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-20)