เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "ภูมิต้านทาน"
แสดงรายการ 1-17 จาก 17
-
การติดตามการเปลี่ยนแปลงของภูมิต้านทานระยะยาวต่อ SARS-CoV-2 ในผู้ป่วยที่หายจากโรคโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)ประเทศไทยเป็นอีกประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข และ เศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในเชื้อ SARS-CoV-2 ให้รวดเร็วที่สุด จึงเป็นสิ่งสำคัญ ดังนั้นงานวิจัยนี้ ... -
การถอดรหัสพันธุกรรมทั้งจีโนมและการศึกษาองค์ประกอบทางชีววิทยาโอมิกส์ ในชิ้นเนื้อและเลือด นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมชุดตรวจเพื่อการคัดกรอง วินิจฉัย การรักษาแบบเฉพาะบุคคล และการติดตามการรักษาในผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดที่ไม่มียีนกลายพันธุ์เฉพาะสำหรับยามุ่งเป้า ปี 2564
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)ปัจจุบันการรักษาโรคมะเร็งปอดมีหลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นการให้ยาเคมีบำบัดแบบดั้งเดิม หรือการรักษาแบบมุ่งเป้า หรือการรักษาด้วยยาภูมิคุ้มกันบำบัด ซึ่งเป็นวิธีการรักษาแบบใหม่ และได้ผลดีมาก โดยเพิ่มอัตราการรอดชีวิต รวมถึงเพิ่มอัต ... -
การศึกษาความปลอดภัยและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อสายพันธุ์โอไมครอนของการฉีดวัคซีนเข็มที่ 3 ในชั้นผิวหนังและกล้ามเนื้อในผู้สูงอายุที่ได้รับวัคซีนแอสตร้าเซเนก้า 2 เข็ม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)วัคซีนโควิด-19 เข็มกระตุ้นมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงสูงหากมีการติดเชื้อโควิด-19 เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ จากการศึกษาพบว่า การฉีดวัคซีนเข้าชั้นผิวหนังมีประสิทธิภาพเทียบเท่าการฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ... -
การศึกษาความปลอดภัยและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังการได้รับวัคซีนโควิด-19 ด้วยการฉีดเข้าในผิวหนัง เพื่อประโยชน์สูงสุดในการบริหารจัดการวัคซีน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)หลักการและเหตุผล: เนื่องด้วยประเทศไทยมีการระบาดโรคโควิด-19 หลายระลอก เป็นเหตุให้การนำเข้าวัคซีนโควิด-19 ในช่วงแรกไม่เพียงพอต่อการกระจายวัคซีนให้กับประชากร ดังนั้น การให้วัคซีนด้วยการฉีดเข้าชั้นผิวหนัง (Intradermal: ID) ... -
การศึกษาภูมิคุ้มกันในผู้ที่หายและผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อจากโรคโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาวิจัยในประเทศไทยถึงการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ SARS-CoV-2 ในผู้กำลังติดเชื้อโรค COVID-19 และผู้ใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงสูง งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันผ่านการสร้างแอนติบอดี ... -
การศึกษาวิทยาภูมิคุ้มกันและอณูพันธุศาสตร์ของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการวินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปี ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)ในปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีการศึกษาข้อมูลทางระบาดวิทยาเกี่ยวกับโรคเบาหวานที่วินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปี ในระยะยาว การศึกษาในเด็กและวัยรุ่นชาวไทยได้รับการตีพิมพ์เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 5 ปี มาแล้ว ข้อมูลการศึกษาล่าสุดมีแนวโน้มพบว่า ... -
การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์และความไม่ปลอดภัย ภายหลังการรับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)การศึกษาวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอาการไม่พึงประสงค์และเปรียบเทียบการมีอาการไม่พึงประสงค์กับชนิดของวัคซีนป้องกันโควิด-19 กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค และผู้สูงอายุที่มารับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ... -
การศึกษาเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ 2 ครั้ง และการให้วัคซีนเชื้อตายตามด้วยวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอในเด็กอายุ 5 ถึง 11 ปี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ 2 เข็ม และการให้วัคซีนเชื้อตาย 1 หรือ 2 เข็ม และตามด้วยวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอในเด็กอายุ 5 ถึง 11 ปี วิธีการศึกษา: ... -
การศึกษาแบคทีเรียและโปรตีโอมน้ำลายที่จำเพาะกับโรคปริทันต์ในผู้ป่วยที่เป็นโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกันหายาก (ปี 2564)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)โรคปริทันต์เป็นปัญหาที่พบบ่อยในประชากรทั่วไปโดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกัน ซึ่งเป็นโรคที่เรื้อรังส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต เนื่องจากความรู้ความเข้าใจในลักษณะทางช่องปากของผู้ป่วยโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกันมีอยู่อย่างจำกัด ... -
ความปลอดภัยและผลการกระตุ้นภูมิต้านทาน ในประชากรผู้ใหญ่หลังให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย (Sinovac) ครบแล้ว 2 เข็ม ด้วยวัคซีนโควิด-19 ชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกัน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 (โควิด-19) ได้กลายเป็นปัญหาด้านการดูแลสุขภาพและสาธารณะมีความรุนแรงทั่วโลกนับตั้งแต่เกิดการระบาดครั้งแรกในปลายเดือนธันวาคม 2019 ปัจจุบันมีการใช้วัคซีนโควิด-19 ในหลายประเทศแต่ก็ยั ... -
ความปลอดภัยและผลการกระตุ้นภูมิต้านทาน ในประชากรผู้ใหญ่หลังให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ เข็มที่ 4 จากผู้ที่มีประวัติการได้รับวัคซีนโควิด-19 มาแล้ว 3 เข็ม, การศึกษาเชิงคลินิก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของความปลอดภัยและผลของการกระตุ้นภูมิคุ้มกันของการให้วัคซีนเข็มที่ 4 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ ภายหลังการให้วัคซีน 3 เข็มในรูปแบบต่างๆ หลังจากนั้นทำการเปรียบเทียบผลการศึกษาดังกล่าวระหว่างกลุ่ม BNT162b2 ... -
ความปลอดภัยและผลการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังการได้รับวัคซีนโควิด 19 ด้วยการฉีดเข้าในผิวหนัง ในอาสาสมัครที่ได้รับวัคซีนเข็มแรก และที่ได้รับวัคซีนกระตุ้น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)เนื่องด้วยพบการระบาดในประเทศไทยในหลายระลอก การนำเข้าวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ในช่วงแรกไม่เพียงพอต่อการกระจายวัคซีนไปยังประชากรทั่วประเทศ การให้วัคซีนด้วยการฉีดเข้าในชั้นผิวหนังจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ซึ่งนอกจากจะใช้วัคซี ... -
ประสิทธิผลการใช้พลาสมาของผู้ที่หายป่วยจากโรคโควิด-19 สำหรับรักษาผู้ป่วย โควิด-19 ที่มีภาวะปอดบวมระดับปานกลางถึงรุนแรง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)โรคอุบัติใหม่โควิด-19 ที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่มีการระบาดไปทั่วโลก โดยเริ่มพบการแพร่ระบาดของเชื้อครั้งแรกเมื่อเดือนธันวาคม 2562 ในนครอู่ฮั่น เมืองหลวงของมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การ ... -
ประสิทธิผลของการได้รับวัคซีนโควิด-19 ครบ 3 เข็มในการลดการเสียชีวิตของผู้สูงอายุที่ติดเชื้อโควิด-19 ในจังหวัดสมุทรปราการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบย้อนหลังในสถานการณ์จริง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของวัคซีนในการลดการเสียชีวิตของผู้สูงอายุที่ติดเชื้อโควิด-19 เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่ได้รับวัคซีนโควิด-19 ครบ 3 เข็ม กับที่ไม่ครบ 3 เข็ม โดยใช้ฐานข้ ... -
ประสิทธิผลของวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย: การศึกษาในสถานการณ์จริง (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)งานวิจัยนี้เป็นการศึกษา Test Negative Case Control Study เพื่อประเมินประสิทธิผลของสูตรวัคซีนต่างๆ สำหรับป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 และโรคโควิด-19 ที่รุนแรง โดยคัดเลือกผู้เข้าเกณฑ์การสอบสวนการติดเชื้อ (Patient Under ... -
ผลระยะยาวของการให้วัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี เมื่อแรกเกิด และวัคซีนรวมที่มีวัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี อยู่ด้วย ในเด็กอายุ 2, 4, 6 และ 18 เดือน ศึกษาในเด็กอายุ 4 และ 5 ปี และการศึกษาระดับภูมิต้านทานและการตอบสนองของภูมิต้านทานต่อไวรัสตับอักเสบ บี หลังให้วัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี เมื่อแรกเกิด และวัคซีนรวม DTPw-HiB-HB+OPV ที่ 2, 4, 6 เดือน ในแผนการให้วัคซีนแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)ประเทศไทยเริ่มให้วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี แก่เด็กแรกเกิดทั่วทั้งประเทศในปี พ.ศ. 2535 และต่อมาก็มีการปรับเปลี่ยนตารางการให้วัคซีนแก่เด็กและในอนาคตองค์การอนามัยโลกจะยกเลิกการให้วัคซีนโปลีโอแบบหยอดเป็นแบบฉีด ... -
ภูมิต้านทานในการให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดต่างๆ กระตุ้นเข็ม 3 ในผู้ใหญ่ที่ได้รับวัคซีนครบ 2 เข็ม ตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-02)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดโปรตีนซับยูนิตหรือวัคซีนโคโวแวกซ์ เมื่อให้เป็นเข็มกระตุ้นในประชากรผู้ใหญ่ที่เคยได้รับวัคซีนมาแล้ว 2 เข็มในสูตรต่างๆ โดยศึกษาแบบ ...