เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "มะเร็ง"
แสดงรายการ 1-20 จาก 36
-
Cancer Precision Medicine: New Paradigm of Cancer Care
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-07)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ... -
การคัดกรองมะเร็งคอมดลูกในหญิงที่ติดเชื้อเอชไอวี จังหวัดปราจีนบุรี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลการตรวจคัดกรองมะเร็งคอมดลูกในหญิงที่ติดเชื้อเอชไอวีของอำเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา ได้แก่ หญิงสมาชิกชมรมผู้ติดเชื้อเอชไอวีของโรงพยาบาลประจันตคาม จำนวน 34 คน ... -
การจัดระบบบริการด้านรังสีรักษากับความต้องการและการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคมะเร็งในประเทศไทยปีงบประมาณ 2545
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)ด้วยเหตุผลที่โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่มีความสำคัญเป็นลำดับต้นของประเทศ และในขณะที่งานรังสีรักษามีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการบำบัดรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งทั้งในระยะเริ่มต้นและระยะสุดท้าย แต่สภาพปัญหาในปัจจุบันพบว่า ... -
การถอดรหัสพันธุกรรมทั้งจีโนมและการศึกษาองค์ประกอบทางชีววิทยาโอมิกส์ ในชิ้นเนื้อและเลือด นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมชุดตรวจเพื่อการคัดกรอง วินิจฉัย การรักษาแบบเฉพาะบุคคล และการติดตามการรักษาในผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดที่ไม่มียีนกลายพันธุ์เฉพาะสำหรับยามุ่งเป้า ปี 2564
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)ปัจจุบันการรักษาโรคมะเร็งปอดมีหลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นการให้ยาเคมีบำบัดแบบดั้งเดิม หรือการรักษาแบบมุ่งเป้า หรือการรักษาด้วยยาภูมิคุ้มกันบำบัด ซึ่งเป็นวิธีการรักษาแบบใหม่ และได้ผลดีมาก โดยเพิ่มอัตราการรอดชีวิต รวมถึงเพิ่มอัต ... -
การทบทวนวรรณกรรมค่าอรรถประโยชน์ด้านสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ค่าอรรถประโยชน์ (Utility value) เป็นผลลัพธ์ที่สำคัญในการวิเคราะห์ต้นทุน-อรรถประโยชน์ (Cost utility analysis: CUA) จากแนวทางการวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทยได้มีการแนะนำให้ใช้แบบสอบถาม EQ-5D-5L ในการหาค่าอ ... -
การทำนายผลการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดโดยใช้การวิเคราะห์ระดับทรานสคริปโตมิกส์และโปรตีโอมิกส์ในผู้ป่วยมะเร็งปอด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)มะเร็งปอดชนิดอะดีโนคาร์ซิโนมามีอุบัติการณ์การเกิดและการตายสูงเป็นลำดับต้นๆ ของประชากรโลก ยาเคมีบำบัดยังคงเป็นส่วนสำคัญในการรักษา แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตอบสนองต่อการรักษาก็ยังต่ำ การศึกษาในครั้งนี้จึงมุ่งเน้นไปที่ค้นหาโป ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจยีน BRCA1/BRCA2 ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ เพื่อตรวจหาผู้ที่เป็นมะเร็งที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่เป็นโรคที่พบได้บ่อยในเพศหญิง ในประเทศไทยมะเร็งเต้านมเป็นโรคที่มีอุบัติการณ์การเกิดมากที่สุดในเพศหญิง ส่วนโรคมะเร็งรังไข่พบได้เป็นอันดับ 6 โรคมะเร็งส่วนหนึ่งที่เกิดจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจะ ... -
การประเมินต้นทุน-อรรถประโยชน์ ของการใช้ยา Recombinant Human Erythropoietin เพื่อแก้ไขภาวะโลหิตจางที่เกิดจากยาเคมีบำบัดในผู้ป่วยมะเร็งในประเทศไทย
(โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2550-12) -
การประเมินผลโครงการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิชั้นสูง (Excellence Center) ด้านโรคมะเร็งภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อติดตามประเมินผลการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิมะเร็งชั้นสูง ทั้งในด้านประสิทธิผลของการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ และกระบวนการบริหารจัดการที่ระดับโรงพยาบาล ผลลัพธ์รวมถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น วิธีการศึกษา ... -
การประเมินโครงการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิชั้นสูงศูนย์มะเร็งภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12) -
การพัฒนาชุดตรวจสอบการผ่าเหล่าของยีนดับพลิวดับพลิวโอเอ็กซ์สำหรับตรวจหาการผ่าเหล่าของยีนดับพลิวดับพลิวโอเอ็กซ์ในผู้ป่วยคนไทยภาคใต้ที่เป็นมะเร็งหลอดอาหารชนิดสแควมัสเซลล์คาร์ซิโนมาโดยอาศัยเทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์แบบใหม่และการแสดงออกของยีนดับพลิวดับพลิวโอเอ็กซ์ที่ผ่าเหล่า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-04)มะเร็งหลอดอาหารมีอุบัติการณ์เป็นลำดับที่ 8 และมีอัตราการตายสูงเป็นลำดับที่ 6 จากมะเร็งทั้งหมดที่พบได้บ่อยทั่วโลก มะเร็งหลอดอาหารสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ มะเร็งหลอดอาหารชนิด Squamous Cell Carcinoma (SCC) และมะเร็งหล ... -
การพัฒนาชุดตรวจสอบการผ่าเหล่าของยีนบีอาร์ซีเอวันสำหรับตรวจหาการผ่าเหล่าของยีนบีอาร์ซีเอวันในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และมะเร็งต่อมลูกหมากในพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทยโดยอาศัยเทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์แบบใหม่และการแสดงออกของยีนบีอาร์ซีเอวันที่ผ่าเหล่า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-04)มะเร็งต่อมลูกหมากเป็นมะเร็งที่พบได้บ่อยเป็นอันดับสองของโลก อุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตทั่วโลกของมะเร็งต่อมลูกหมากคือ 30.7 และ 7.7 ต่อจำนวนประชากร 100,000 คน ตามลำดับ โดยมีระยะรอดชีพ 5 ปี ของระยะต้นอยู่ที่ร้อยละ 96.8 ... -
การพัฒนาชุดตรวจหาการกลายพันธุ์ของยีนนิวคลีโอฟอสมินในผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดมัยอีลอยด์เพื่อการรักษาอย่างแม่นยำ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)การกลายพันธุ์ (mutation) ของยีนนิวคลีโอฟอสมิน (nucleophosmin; NPM1) เป็นการเปลี่ยนแปลงในระดับโมเลกุลที่พบมากที่สุดในโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดมัยอีลอยด์ (acute myelogenous leukemia; AML) โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีจำน ... -
การพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกเพื่อการสร้างเสริมจุลินทรีย์ที่ดี ในลำไส้ในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)มะเร็งลำไส้เป็นสาเหตุการตายอันดับ 3 ของมะเร็งทุกชนิดในประชากรทั่วโลก สาเหตุสัมพันธ์กับการขาดสมดุลของจุลินทรีย์ในช่องท้อง มีรายงานการศึกษาก่อนหน้าทั้งการศึกษานอกกายและการศึกษาในกายแสดงให้เห็นว่า จุลินทรีย์โพรไบโอติกสามารถ ... -
การพัฒนายาแอนติบอดีต้นแบบต่อ PD-1 เพื่อใช้ในการรักษาโรคมะเร็งแบบภูมิคุ้มกันบำบัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)โรคมะเร็งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตหลักในประเทศไทย ซึ่งวิธีการรักษาหลักของโรคมะเร็งนอกจากการผ่าตัด การใช้ยาเคมีบำบัด การฉายแสง และการใช้ฮอร์โมนแล้ว ยังมีการใช้ภูมิคุ้มกันบำบัดซึ่งเป็นอีกวิธีหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการรักษา ... -
การพัฒนาวิธีการตรวจหาเซลล์มะเร็งในกระแสเลือดโดยวิธีการแยกเซลล์ด้วยสารแม่เหล็กร่วมกับการตรวจหาแอนติเจนบางชนิดของเซลล์มะเร็ง ด้วยแอนติบอดีที่ติดฉลากด้วยสารเรืองแสง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)การวิจัยนี้เป็นการพัฒนาวิธีการตรวจหาเซลล์มะเร็งจากเลือดของผู้ป่วยมะเร็ง ที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นการตรวจเพื่อคัดกรองหรือตรวจติดตามผู้ป่วยมะเร็ง ใช้วิธีการเจาะเลือดจากหลอดเลื ... -
การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์และความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA โดยชุดเก็บตัวอย่างด้วยตัวเองในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ที่มา : มะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่มีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับ 3 ในสตรีไทย แม้ว่าปัจจุบันสตรีไทยจะมีสิทธิในเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก แต่อุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทยก็ยังคงสูง ... -
การศึกษาความแตกต่างและทางเลือกในการประสานการจัดระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าใช้จ่ายสูงของระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย :กรณีศึกษาโรคมะเร็ง โรคไตวายเรื้อรัง และโรคเอดส์
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการ แนวทางหรือรูปแบบการจัดกลไกกลางของระบบประกันสุขภาพในต่างประเทศในการจัดระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าใช้จ่ายสูง นโยบายและการพัฒนาแนวทางหรือรูปแบบการจัดกลไกของระบบหลักประกั ... -
การศึกษาจีโนมแบบบูรณาการและหลากมิติของเนื้องอกสมองกลีโอมา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)เนื้องอกสมองชนิด Glioma เป็นเนื้องอกที่มีการพยากรณ์โรคเลวที่สุดชนิดหนึ่งในมนุษย์ การรักษามาตรฐานในปัจจุบัน ได้แก่ การผ่าตัด การให้รังสีรักษาและเคมีบำบัด มีประสิทธิภาพจำกัดและมีอุปสรรคมากกว่ามะเร็งชนิดอื่น ผู้ป่วยที่เป็นโ ... -
การเพิ่มเข้าถึงบริการรังสีรักษาด้วยระบบส่งต่อทาง internet
(สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 3 นครสวรรค์, 2554-07)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง ขยายคุณค่างานประจำ: R2R พัฒนาการบริหารจัดการ วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-16.30 น. ณ Jupiter8-9 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี