• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "วัคซีนเข็มกระตุ้น"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-13 จาก 13

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การศึกษาความปลอดภัยและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อสายพันธุ์โอไมครอนของการฉีดวัคซีนเข็มที่ 3 ในชั้นผิวหนังและกล้ามเนื้อในผู้สูงอายุที่ได้รับวัคซีนแอสตร้าเซเนก้า 2 เข็ม 

      ประเสริฐ อัสสันตชัย; Prasert Assantachai; วิชัย ฉัตรธนวารี; Wichai Chatthanawaree; วีรศักดิ์ เมืองไพศาล; Weerasak Muangpaisan; สมบูรณ์ อินทลาภาพร; Somboon Intalapaporn; หฤษฎ์ ปัณณะรัส; Harisd Phannarus; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; ศันสนีย์ เสนะวงษ์; Sansnee Senawong; ปฏิมาพร วงษ์พรหมพิทักษ์; Patimaporn Wongprompitak; สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      วัคซีนโควิด-19 เข็มกระตุ้นมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงสูงหากมีการติดเชื้อโควิด-19 เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ จากการศึกษาพบว่า การฉีดวัคซีนเข้าชั้นผิวหนังมีประสิทธิภาพเทียบเท่าการฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ...
    • การศึกษาความปลอดภัยและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังการได้รับวัคซีนโควิด-19 ด้วยการฉีดเข้าในผิวหนัง เพื่อประโยชน์สูงสุดในการบริหารจัดการวัคซีน 

      สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; สมฤดี ฉัตรสิริเจริญกุล; Somruedee Chatsiricharoenkul; ศันสนีย์ เสนะวงษ์; Sansnee Senawong; ปฏิมาพร วงษ์พรหมพิทักษ์; Patimaporn Wongprompitak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      หลักการและเหตุผล: เนื่องด้วยประเทศไทยมีการระบาดโรคโควิด-19 หลายระลอก เป็นเหตุให้การนำเข้าวัคซีนโควิด-19 ในช่วงแรกไม่เพียงพอต่อการกระจายวัคซีนให้กับประชากร ดังนั้น การให้วัคซีนด้วยการฉีดเข้าชั้นผิวหนัง (Intradermal: ID) ...
    • การศึกษาภูมิคุ้มกันในผู้ที่หายและผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อจากโรคโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19) 

      ปกรัฐ หังสสูต; Pokrath Hansasuta; ภาวพันธ์ ภัทรโกศล; Parvapan Bhattarakosol; เอกสิทธิ์ โกวิทย์ดำรงค์; Ekasit Kowitdamrong; ญาดา ตันสิริ; Yada Tansiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาวิจัยในประเทศไทยถึงการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ SARS-CoV-2 ในผู้กำลังติดเชื้อโรค COVID-19 และผู้ใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงสูง งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันผ่านการสร้างแอนติบอดี ...
    • การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์และความไม่ปลอดภัย ภายหลังการรับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย 

      พูลสุข เจนพานิชย์ วิสุทธิพันธ์; Poolsuk Janepanish Visudtibhan; แสงทอง ธีระทองคำ; Sangthong Terathongkum; จิราพร ไลนิงเกอร์; Jiraporn Lininger; วนาพรรณ ชื่นอิ่ม; Wanaphan Chuen-im; พลอยแก้ว จารุวร; Ploykaew Jaruworn; สุนันท์ วงศ์วิศวะกร; Sunun Wongvisavakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การศึกษาวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอาการไม่พึงประสงค์และเปรียบเทียบการมีอาการไม่พึงประสงค์กับชนิดของวัคซีนป้องกันโควิด-19 กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค และผู้สูงอายุที่มารับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ...
    • การศึกษาเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ 2 ครั้ง และการให้วัคซีนเชื้อตายตามด้วยวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอในเด็กอายุ 5 ถึง 11 ปี 

      ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณัฐินี สุทธินรเศรษฐ์; Natthinee Sudhinaraset; สิทธิชัย กนกอุดม; Sitthichai Kanokudom; หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์; Nungruthai Suntronwong; จิระ จันทร์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; ทักษพร ทัศนาธร; Thaksaporn Thatsanatorn; ดลชิดา ศรีเหมือน; Donchida Srimuan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ 2 เข็ม และการให้วัคซีนเชื้อตาย 1 หรือ 2 เข็ม และตามด้วยวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอในเด็กอายุ 5 ถึง 11 ปี วิธีการศึกษา: ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายจากการใช้แบบจำลองสถานการณ์พลวัตระบบการจัดการห่วงโซ่อุปทานของวัคซีนโควิด-19 

      บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ปณิธี ธัมมวิจยะ; Panithee Thammawijaya; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Sornsrivichai; พาส์น ฑีฆทรัพย์; Pard Teekasap; วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen; ปฐมพร ศิรประภาศิริ; Pathomphorn Siraprapasiri; ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; ภาณุวิชญ์ แก้วกำจรชัย; Phanuwich Kaewkamjornchai; แพรวนภา พันธุ์สวาสดิ์; Praewnapa Puntusavase (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      การระบาดใหญ่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โรคโควิด-19 หรือ COVID-19) เป็นปัญหาที่ซับซ้อน มีพลวัตรสูงและส่งผลกระทบทั้งด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ทั้งระดับภายในประเทศและระดับนานาชาติ นอกจากผลกระทบโดยตรงต่อด้านส ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเพื่อสนับสนุนกระบวนการตัดสินใจเชิงนโยบายและการวางแผนการปรับตัวหลังวิกฤตของระบบสุขภาพของประเทศไทย โดยการประยุกต์ใช้แบบจำลองสถานการณ์พลวัตระบบของการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 

      บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ปณิธี ธัมมวิจยะ; Panithee Thammawijaya; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Sornsrivichai; พาส์น ฑีฆทรัพย์; Pard Teekasap; วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen; ปฐมพร ศิรประภาศิริ; Pathomphorn Siraprapasiri; ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; ภาณุวิชญ์ แก้วกำจรชัย; Phanuwich Kaewkamjornchai; แพรวนภา พันธุ์สวาสดิ์; Praewnapa Puntusavase (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ปัญหาการระบาดใหญ่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ในประเทศไทย เป็นปัญหาซับซ้อน ความรู้ที่มีอยู่อย่างจำกัดตามธรรมชาติของโรคอุบัติใหม่ ทำให้มีความไม่แน่นอนในการแก้ไขปัญหา ผู้กำหนดนโยบายต้องการข้อมูลที่รอบด้านประกอ ...
    • ความปลอดภัยและผลการกระตุ้นภูมิต้านทาน ในประชากรผู้ใหญ่หลังให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย (Sinovac) ครบแล้ว 2 เข็ม ด้วยวัคซีนโควิด-19 ชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกัน 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ณัฐินี สุทธินรเศรษฐ์; Natthinee Sudhinaraset; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์; Nungruthai Suntronwong; สมพงษ์ วงษ์พันสวัสดิ์; Sompong Vongpunsawad; จิรัชญา พื้นผา; Jiratchaya Puenpa; จิระ จันท์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; พรพิตรา ประเทศรัตน์; Pornpitra Pratedrat; ชมพูนุช อู่พิมาย; Chompoonut Auphimai; ทักษพร ทัศนาธร; Thaksaporn Thatsanatorn; ดลชิดา ศรีเหมือน; Donchida Srimuan; สุวิชาดา อัศวโกสีย์; Suvichada Assawakosri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 (โควิด-19) ได้กลายเป็นปัญหาด้านการดูแลสุขภาพและสาธารณะมีความรุนแรงทั่วโลกนับตั้งแต่เกิดการระบาดครั้งแรกในปลายเดือนธันวาคม 2019 ปัจจุบันมีการใช้วัคซีนโควิด-19 ในหลายประเทศแต่ก็ยั ...
    • ความปลอดภัยและผลการกระตุ้นภูมิต้านทาน ในประชากรผู้ใหญ่หลังให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ เข็มที่ 4 จากผู้ที่มีประวัติการได้รับวัคซีนโควิด-19 มาแล้ว 3 เข็ม, การศึกษาเชิงคลินิก 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; จิระ จันทร์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์; Nungruthai Suntronwong; ทักษพร ทัศนาธร; Thaksaporn Thatsanatorn; ดลชิดา ศรีเหมือน; Donchida Srimuan; สุวิชาดา อัศวโกสีย์; Suvichada Assawakosri; สิทธิชัย กนกอุดม; Sitthichai Kanokudom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของความปลอดภัยและผลของการกระตุ้นภูมิคุ้มกันของการให้วัคซีนเข็มที่ 4 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ ภายหลังการให้วัคซีน 3 เข็มในรูปแบบต่างๆ หลังจากนั้นทำการเปรียบเทียบผลการศึกษาดังกล่าวระหว่างกลุ่ม BNT162b2 ...
    • ความปลอดภัยและผลการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังการได้รับวัคซีนโควิด 19 ด้วยการฉีดเข้าในผิวหนัง ในอาสาสมัครที่ได้รับวัคซีนเข็มแรก และที่ได้รับวัคซีนกระตุ้น 

      สมฤดี ฉัตรสิริเจริญกุล; Somruedee Chatsiricharoenkul; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; ศันสนีย์ เสนะวงษ์; Sansnee Senawong; สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      เนื่องด้วยพบการระบาดในประเทศไทยในหลายระลอก การนำเข้าวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ในช่วงแรกไม่เพียงพอต่อการกระจายวัคซีนไปยังประชากรทั่วประเทศ การให้วัคซีนด้วยการฉีดเข้าในชั้นผิวหนังจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ซึ่งนอกจากจะใช้วัคซี ...
    • ประสิทธิผลของการได้รับวัคซีนโควิด-19 ครบ 3 เข็มในการลดการเสียชีวิตของผู้สูงอายุที่ติดเชื้อโควิด-19 ในจังหวัดสมุทรปราการ 

      รังสรรค์ วงษ์บุญหนัก; Rungsan Wongboonnak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบย้อนหลังในสถานการณ์จริง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของวัคซีนในการลดการเสียชีวิตของผู้สูงอายุที่ติดเชื้อโควิด-19 เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่ได้รับวัคซีนโควิด-19 ครบ 3 เข็ม กับที่ไม่ครบ 3 เข็ม โดยใช้ฐานข้ ...
    • ประสิทธิผลของวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย: การศึกษาในสถานการณ์จริง (ปีที่ 2) 

      ภาสกร ศรีทิพย์สุโข; Paskorn Sritipsukho; บุญยิ่ง ศิริบำรุงวงศ์; Boonying Siribumrungwong; พิชญ ตันติยวรงค์; Pichaya Tantiyavarong; อารยา ศรัทธาพุทธ; Araya Satdhabudha; พรรณศจี ดำรงเลิศ; Pansachee Damronglerd; พีร์ จารุอำพรพรรณ; Peera Jaru-ampornpan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      งานวิจัยนี้เป็นการศึกษา Test Negative Case Control Study เพื่อประเมินประสิทธิผลของสูตรวัคซีนต่างๆ สำหรับป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 และโรคโควิด-19 ที่รุนแรง โดยคัดเลือกผู้เข้าเกณฑ์การสอบสวนการติดเชื้อ (Patient Under ...
    • ภูมิต้านทานในการให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดต่างๆ กระตุ้นเข็ม 3 ในผู้ใหญ่ที่ได้รับวัคซีนครบ 2 เข็ม ตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุข 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; จิระ จันทร์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์; Nungruthai Suntronwong; ทักษพร ทัศนาธร; Thaksaporn Thatsanatorn; ดลชิดา ศรีเหมือน; Donchida Srimuan; สุวิชาดา อัศวโกสีย์; Suvichada Assawakosri; สิทธิชัย กนกอุดม; Sitthichai Kanokudom; วิทักษ์ วิทักษบุตร; Withak Withaksabut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-02)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดโปรตีนซับยูนิตหรือวัคซีนโคโวแวกซ์ เมื่อให้เป็นเข็มกระตุ้นในประชากรผู้ใหญ่ที่เคยได้รับวัคซีนมาแล้ว 2 เข็มในสูตรต่างๆ โดยศึกษาแบบ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV