เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "สตรีวัยกลางคน"
แสดงรายการ 1-7 จาก 7
-
การพัฒนาระบบสุขภาพทางเลือกเพื่อการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคน : กรณีศึกษาในสถานบริการภาคอีสาน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)การศึกษาเชิงคุณภาพเรื่องนี้มีเป้าหมายเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ระบบบริการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคนที่ปรากฏอยู่ในสถานบริการสุขภาพทั้งในแง่มุมของแนวคิด วิธีการจัดการ การรับรู้ของสตรี ตลอดจนความสำเร็จและอุปสรรค ผู้ให้ข้อมูลห ... -
การพัฒนาระบบสุขภาพทางเลือกเพื่อการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคน : วิเคราะห์สถานการณ์ในภาคเหนือ อีสาน และใต้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)งานวิจัยเชิงคุณภาพเรื่องนี้มีเป้าหมายเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ระบบสุขภาพทางเลือกเพื่อการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคน ที่อยู่ใน 3 จังหวัด คือ สถานบริการสุขภาพในชุมชนเมืองและชนบท ในจังหวัดเชียงใหม่ของภาคเหนือ ขอนแก่นของภาคอีส ... -
การพัฒนาระบบสุขภาพทางเลือกเพื่อการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคน : สถานการณ์ในมิติภาคพื้นบ้าน และแบบประชาชนภาคอีสาน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)รายงานวิจัยเชิงคุณภาพเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์วิเคราะห์สถานการณ์ระบบบริการส่งเสริมสุขภาพทางเลือกสำหรับสตรีวัยกลางคนในด้านแนวคิด วิธีการจัดการ การรับรู้ และความสำเร็จของระบบบริการส่งเสริมสุขภาพทางเลือก สถานที่ศึกษาคือ ... -
การศึกษาระบบสุขภาพแบบพื้นบ้านและระบบสุขภาพแบบประชาชนเพื่อการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคนในชุมชนล้านนา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบสุขภาพแบบพื้นบ้านและระบบสุขภาพแบบสามัญชนเพื่อการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคนในชุมชนล้านนา ทำการศึกษาในชุมชนเขตเมือง กึ่งเขตเมืองกึ่งชนบท และในเขตชนบทอย่างละ 1 แห่ง ... -
ระบบบริการสุขภาพอนามัยสำหรับสตรีวัยกลางคนในสถานบริการภาครัฐและเอกชน : กรณีศึกษาในจังหวัดสงขลา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบบริการสุขภาพอนามัยสำหรับสตรีวัยกลางคนในสถานบริการสุขภาพของภาครัฐและเอกชนในจังหวัดสงขลา กลุ่มที่ศึกษาเป็นผู้ให้และผู้ใช้บริการ ณ คลินิกวัยทอง โรงพยาบาลภาครัฐ จำนวน 3 แห่ง ... -
ระบบบริการส่งเสริมสุขภาพในสตรีวัยกลางคน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์บริการสุขภาพสำหรับสตรีวัยกลางคนของสถานบริการต่างๆ ในภาครัฐและเอกชนในภาคเหนือ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก การสนทนากลุ่ม การสังเกตในสถานการณ์ต่างๆ ... -
ระบบสุขภาพแบบพื้นบ้านและระบบสุขภาพแบบประชาชนเพื่อการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคนในสังคมและวัฒนธรรมภาคใต้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)การวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยการพัฒนาระบบทางเลือกเพื่อส่งเสริมสุขภาพของสตรีวัยกลางคน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบสุขภาพแบบพื้นบ้านและระบบสุขภาพแบบประชาชนในชุมชนเขตเมืองและชนบทจังหวัดสงขลา ...