• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "สาธารณสุขมูลฐาน"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 35

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • 30 ปี การสาธารณสุขมูลฐานและทิศทางการพัฒนาในอนาคต 

      สุธาทิพย์ จันทรักษ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-19)
    • การจัดสรรเงินและสถานการณ์การเงินสถานบริการระดับปฐมภูมิ (สถานีอนามัย) ภายใต้การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-08)
      การบริการระดับปฐมภูมิ เป็นระบบบริการที่มีความสำคัญต่อระบบบริการสุขภาพ เนื่องจากเป็นบริการด่านแรก มุ่งเน้นการบริการที่ต่อเนื่องและผสมผสาน จึงจำเป็นที่จะต้องได้รับการสนับสนุนอย่างเพียงพอเพื่อการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ ...
    • การทบทวนข้อมูลเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การจัดบริการในหน่วยบริการปฐมภูมิภายใต้โครงสร้างกระทรวงสาธารณสุข 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2551)
      หน่วยบริการปฐมภูมิเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญในกลยุทธ์การพัฒนาตามปรัชญาและหลักการสาธารณสุขมูลฐาน ซึ่งประกาศโดยองค์การอนามัยโลก ที่อัลมาอัลตา เป็นหน่วยบริการสาธารณสุขที่อยู่ใกล้บ้าน ใกล้ที่ทำงาน เป็นส่วนสำคัญที่ประกันการเ ...
    • การปฏิบัติงานวิชาการ การทบทวน วิเคราะห์ และพัฒนาคุณภาพตัวชี้วัดหน่วยบริการปฐมภูมิ 

      ลลิตยา กองคำ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-07)
      หน่วยบริการปฐมภูมิมีความสำคัญในการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพที่จำเป็นสำหรับประชาชน เพื่อให้เข้าใจจุดแข็ง จุดอ่อนที่เกิดขึ้นของกลไกต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการกำกับ และพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานบริการปฐมภูมิในปัจจุบัน ...
    • การศึกษาและพัฒนากลไกความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่ออภิบาลระบบสุขภาพท้องถิ่นภายใต้บริบทการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      ปรีดา แต้อารักษ์; Preeda Taearak; วีระศักดิ์ เครือเทพ; Weerasak Krueathep; วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart; พีธากร ศรีบุตรวงษ์; Peethakorn Sribhudwong; ศักดิ์ชัย กาญจนวัฒนา; Sakchai Kanjanawatana; ปรานอม โอสาร; Pranom Aosan; ศดานนท์ วัตตธรรม; Sadanon Wattatham; ศิริศักดิ์ เหล่าจันขาม; Sirisak Laochankham; เฉลิมพร วรพันธกิจ; Chalermphorn Worraphantakit; ไกรวุฒิ ใจคําปัน; Kraiwuth Jaikampan; ธวัชชัย เอกสันติ; Thawatchai Aeksanti; ดารินทร์ กําแพงเพชร; Darin Kamphaengphet; ศักดิ์ณรงค์ มงคล; Saknarong Mongkol; โกเมนทร์ ทิวทอง; Komain Tewtong; ภัชร์จิรัสม์ ธัชเมฆรัตน์; Pachjirat Thachmakerat; ศุมล ศรีสุขวัฒนา; Soomol Srisookwatana; จารึก ไชยรักษ์; Jaruek Chairak; วีรบูรณ์ วิสารทสกุล; Weeraboon Wisartsakul; จักรินทร์ สีมา; Jakkarin Seema (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในพื้นที่ในกลไกการบริการด้านสุขภาพปฐมภูมิ และมุ่งพัฒนารูปแบบกลไกความร่วมมือระหว่าง อปท. ในการอภิบาลระบบสุขภาพ ...
    • การศึกษาและพัฒนาสถานภาพทางสังคมและทางกฎหมายของหมอพื้นบ้าน 

      รุจินาถ อรรถสิษฐ; เสาวณีย์ กุลสมบูรณ์; ยงศักดิ์ ตันติปิฎก; กุสุมา ศรียากูล; อรจิรา ทองสุกมาก; วราภรณ์ ด่อนแก้ว (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553)
      รายงาน “การศึกษาและพัฒนาสถานภาพทางสังคมและทิศทางทางกฎหมายของหมอพื้นบ้าน” เล่มนี้ เกิดจากการทำงานรับรองสถานภาพหมอพื้นบ้าน ตามพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 ในช่วง พ.ศ.2553-2554 ซึ่งมีกระบวนการพิจารณาสิทธิตามกฎหม ...
    • การสังเคราะห์การวิจัยและพัฒนาเครื่องมือและกลไกการทำงานชุมชนในระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ 

      ขนิษฐา นันทบุตร; Kanittar Nantabut; กล้าเผชิญ โชคบำรุง; ปิยะธิดา นาคะเกษียร; ปราณี ธีรโสภณ; จินตนา ลี้ละไกรวรรณ; Klaphachoen Chokbumrung; Phiyatida Nakakasian; Phanee Teerasophol; Jintana Lilakaiwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      จากรูปแบบและแนวคิดที่นำไปสู่การพัฒนาในรูปธรรมการจัดและให้บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ ที่เป็นไปได้จริง ตามการปรับเปลี่ยนด้านนโยบายสุขภาพและแนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพในแง่ของโครงสร้าง กลไกเครื่องมือ วิธีการทำงาน กระบวนการพัฒนาผู้ใ ...
    • การสำรวจข้อมูลการพัฒนาบริการปฐมภูมิของหน่วยบริการคู่สัญญา 

      สุพัตรา บุญญานุภาพพงศ์; ชยภรณ์ ดีเอม (แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2552-11)
      บริการปฐมภูมิเป็นบริการด่านแรกที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้สะดวก มีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนอย่างต่อเนื่องทุกกลุ่มอายุ การที่หน่วยบริการปฐมภูมิจะทำหน้าที่ตามบทบาทได้อย่างสมบูรณ์นั้น จำเป็นต้องได้รับการเชื่อมโยงและสนับส ...
    • การออกแบบระบบบริการสุขภาพในหน่วยบริการปฐมภูมิภายใต้สถานการณ์ Covid-19 : กรณีศึกษาพื้นที่อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี 

      มูหาหมัดอาลี กระโด; Muhamadalee Krado; รอซาลี สีเดะ; Rozalee Saredea; วรรณี ปาทาน; Wannee Patan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)
      โครงการวิจัยการออกแบบระบบบริการสุขภาพในหน่วยบริการปฐมภูมิภายใต้สถานการณ์ Covid-19 : กรณีศึกษาพื้นที่อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี มีความมุ่งหวังให้บุคลากรเห็นความสำคัญของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิและสามารถปรับวิธีการทำงาน ...
    • ข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดการของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิที่เหมาะสมต่อการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในเขตสุขภาพที่ 11 

      วรัญญา จิตรบรรทัด; Waranya Jitbantad; พิมพวรรณ เรืองพุทธ; Pimpawan Rueangphut; ดลปภัฎ ทรงเลิศ; Dolpaphat Songloed; จิฑาภรณ์ ยกอิ่น; Jithaphon Yok-in; วิเชียร ไทยเจริญ; Wichian Thaicharoen; สุรเชษฐ์ เชตุทอง; Surachet Chetthong; รุจ เรื่องพุทธ; Ruj Rueangphut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์การจัดการปัญหาในสถานการณ์การการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ 2) วิเคราะห์ผลลัพธ์และผลกระทบของการจัดการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของระบบบริก ...
    • คู่มือการทำงานชุมชนของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อพัฒนางานกองทุน สปสช.ขององค์กรภาคีองค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาลชุมชน และเครือข่ายบริการสุขภาพ 

      ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-01)
      คู่มือการพัฒนาการทำงานชุมชนเพื่อการทำงานกองทุนสุขภาพ สปสช. ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้เจ้าหน้าที่และภาคีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานกองทุนได้มีโอกาส 1) ทบทวนและเรียนรู้แนวคิด หลักการการทำงานชุมชน การทำงานกองทุนสุขภาพ สปสช. ...
    • งานวิจัยเพื่อการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; กันยา บุญธรรม; ทัศนีย์ ญาณะ; ผการัตน์ ฤทธิ์ศรีบุญ; กฤษณา คำมูล; สุกัลยา คงสวัสดิ์ (สำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2553-10)
    • จับกระแส : จดหมายข่าวสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 

      ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540-11)
      - สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขเตรียมเสนอผล 5 โครงการวิจัยรับแผนสุขภาพดีด้วยตนทุนต่ำ หาแนวทางจัดซื้อยาคุณภาพราคาประหยัด - ระดมความคิดกำหนดทิศทางและเป้าหมาย การวิจัยและพัฒนารูปแบบประชาสังคมผู้สูงอายุ – ศูนย์แพทย์ชุมชน ...
    • ต้นทุนผู้ป่วยรายบุคคลของหน่วยบริการสุขภาพในจังหวัดพิษณุโลก : ด้วยวิธีต้นทุนจุลภาพ 

      อรทัย เขียวเจริญ; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; บุญเติม ตันสุรัตน์; ชัยโรจน์ ซึงสนธิพร (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2555-07)
      วิธีการจ่ายเงินให้กับหน่วยบริการเป็นเครื่องมือสําคัญในการปฏิรูประบบสาธารณสุขที่หลายๆ ประเทศทั่วโลกนํามาใช้ในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งการจ่ายเงินไม่ว่าในรูปแบบใดหากออกแบบให้เหมาะสมย่อมนําไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพ คุณภาพ ...
    • ทิศทางสาธารณสุขมูลฐานในทศวรรษที่สี่ของประเทศไทย 

      สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02)
      จากสาธารณสุขมูลฐานสู่สุขภาพชุมชน: ข้อเสนอสำหรับผู้กำหนดนโยบายและทีมสุขภาพชุมชน การสาธารณสุขมูลฐานเป็นแนวคิดที่ได้รับการยอมรับกันอย่างกว้างขวาง หลังคำประกาศ Alma Ata ในปี ค.ศ.1978 โดยมีเป้าหมายคือ ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี ...
    • บริการปฐมภูมิ อะไร และอย่างไรสู่อนาคต 

      สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-20)
    • ประเด็นท้าทายของระบบสุขภาพตามเจตนารมณ์สาธารณสุขมูลฐาน: บทสังเคราะห์ข้อเสนอการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพช่องปากของประชากรไทย 

      วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)
      การพัฒนาระบบดูแลสุขภาพให้สามารถตอบสนองต่อความจำเป็นทางด้านสุขภาพขั้นพื้นฐานของประชากรส่วนใหญ่ได้เป็นเป้าหมายที่ทั่วโลกคาดหวังให้บรรลุผลตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 ประเทศสมาชิกองค์การอนามัยโลกเห็นชอบให้นำหลักการสาธารณสุขมูลฐานมาใ ...
    • พลวัตรการสาธารณสุขมูลฐาน-สามทศวรรษแห่งการเปลี่ยนแปลง : มุมมองจากประชาคมโลก 

      สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; Suwit Wibulpolprasert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-20)
    • พัฒนาการและข้อเสนอทศวรรษที่สี่การสาธารณสุขมูลฐานไทย 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; ศุภลักษณ์ เลิศมโนรัตน์; ยงยุทธ พงษ์สุภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02)
      เนื้อหาหลักของเอกสารประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนแรกเป็นการทบทวนแก่นสาระของสาธารณสุขมูลฐาน เพื่อสร้างความเข้าใจที่ชัดเจนว่า โดยประวัติศาสตร์ความเป็นมาแล้ว แนวคิดของสาธารณสุขมูลฐานเปรียบได้กับคำอธิบายว่าด้วยอริยสัจของสุขภาพ ...
    • มอ. ออกโรงนำรัฐ-เอกชนถกยุทธศาสตรืใต้เชื่อมโยงอาเซียน 

      กองบรรณาธิการ (2551-10)

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [621]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV