เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "หญิงตั้งครรภ์"
แสดงรายการ 1-7 จาก 7
-
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติในครรภ์ก่อนคลอดในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)ประเทศไทยมีรายงานอุบัติการณ์ของโรคโครโมโซมผิดปกติ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ในทารกแรกเกิดอยู่ระหว่าง 1 : 800 ถึง 1 : 1,000 โดยพบความเสี่ยงเพิ่มขึ้นตามอายุของมารดา อย่างไรก็ตามร้อยละ 75-80 ของทารกแรกเกิดที่มีอาการดาวน์นั้นพบว่า ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยภาวะพาหะธาลัสซีเมียในคู่สามีภรรยาในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)ความชุกของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียพบได้ประมาณร้อยละ 1 ของประชากรทั้งหมด โดยมีผู้ที่เป็นพาหะของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียประมาณร้อยละ 30-40 จึงสามารถประมาณการได้ว่าจะพบผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงรายใหม่ 5,125 คน ... -
การพัฒนาแอปพลิเคชันคุณลูกสำหรับหญิงตั้งครรภ์เพื่อส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05-30)เด็กและวัยรุ่นเป็นวัยที่สำคัญเพราะเป็นอนาคตของประเทศชาติ การลงทุนตั้งแต่อยู่ในครรภ์ช่วยให้เกิดการตั้งครรภ์ที่มีคุณภาพ ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน ซึ่งเป็นจุดตั้งต้นที่จะช่วยให้ทารกที่เกิดมามีโอกาสที่จะมีสุขภาพแข็งแรง ... -
การวิจัยปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่เชื้อไวรัสซิกา เพื่อประยุกต์ใช้ในการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ (ปีที่ 3)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)โรคไข้ซิกาเป็นโรคที่เกิดจากไวรัสที่นำโดยแมลงที่เกิดการอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ ซึ่งไวรัสจะถูกส่งผ่านไปยังมนุษย์โดยผ่านการกัดของยุง ซึ่งไม่นานมานี้ไวรัสซิกาได้พบอุบัติใหม่ขึ้นในประเทศไทยและพบอีกหลายๆ ประเทศ โดยเฉพาะประเทศใน ... -
ความรุนแรงและปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อโควิด-19 ในหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด: การศึกษาแบบภาคตัดขวางในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)ภูมิหลังและเหตุผล: การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) ก่อให้เกิดวิกฤติทางสุขภาพที่สำคัญ โดยมีผู้ป่วยหลายล้านคนทั่วโลก หญิงตั้งครรภ์เป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยที่รุนแรงจนถึงการเสียชีวิต ผู้ที่ตั้งครรภ์และติดเชื้อโควิด-19 ... -
ความสัมพันธ์และรูปแบบการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันของทารกในครรภ์ที่ตรวจพบความผิดปกติของระบบประสาทและไขสันหลังกับการติดเชื้อไวรัสซิกา (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 จนถึงปัจจุบัน กระทรวงสาธารณสุขรายงานว่าประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วยที่ได้รับการยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสซิกาจากระบบเฝ้าระวังโรค ประมาณ 1-5 รายต่อปี โดยพบผู้ป่วยประปรายในทุกภาคของประเทศ แต่ไม่พบผู้ป่วยอาการรุ ... -
ความแม่นยำและความเที่ยงตรงของแบบสอบถามกิจกรรมทางกายสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและทดสอบความแม่นยำและความเที่ยงตรงของแบบสอบถามกิจกรรมทางกายสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร (physical activity questionnaire for pregnant and lactating women, PAQ-PL) โดยพัฒนาแบบสอบถ ...