• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "หมอครอบครัว"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-10 จาก 10

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การประเมินผลเบื้องต้น: ประสบการณ์การได้รับการดูแลแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Srisornvichai; สันติ ลาภเบญจกุล; Santi Lapbenjakul; ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      โครงการวิจัยดำเนินการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ได้นำร่องการปรับรูปแบบและกระบวนการจัดบริการของเครือข่ายบริการปฐมภูมิหรือคลินิกหมอครอบครัว (primary care cluster: PCC) จำนวน 20 แห่งในการดูแ ...
    • การวิจัยพัฒนารูปแบบและแนวทางการจัดบริการแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 

      ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun; สันติ ลาภเบญจกุล; Santi Lapbenjakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      รายงานการวิจัยพัฒนารูปแบบและแนวทางการจัดบริการแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยดำเนินการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการและยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีวัตถุประสงค์ ...
    • การวิเคราะห์ข้อมูลการดำเนินงานของโครงการคลินิกหมอครอบครัว ตามแนวคิดเรื่องการจัดระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิแบบบูรณาการ และยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 

      วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Sornsrivichai; ผกามาศ อรุณสวัสดิ์; Phakamat Arunsawas (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      ตามที่กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายปฏิรูประบบบริการสุขภาพปฐมภูมิโดยการจัดให้มีคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster: PCC) เพื่อพัฒนาระบบบริการที่เป็นการดูแลแบบองค์รวมและลดความเหลื่อมล้ำด้วยแนวคิดบริการทุกคน ทุกอย่าง ทุกที่ ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาบทบาทของวิทยาลัยภายใต้พระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนกในการสร้างความเข้มแข็งของบุคลากรสาธารณสุขสำหรับการสนับสนุนทีมหมอครอบครัว 

      อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; อัจฉราวดี ศรียะศักดิ์; Atcharawadee Sriyasak; จินตนา ทองเพชร; Jintana Tongpeth; วารุณี เกตุอินทร์; Varunee Ketin; ดาราวรรณ รองเมือง; Daravan Rongmuang; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; เบญจพร รัชตารมย์; Benjaporn Rajataram; บุญเรือง ขาวนวล; Bunrean Kaonuan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดนโยบายคลินิกหมอครอบครัวเพื่อการพัฒนาบริการปฐมภูมิ และผลักดันให้มีพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 ทำให้มีการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อแก้ปัญหาเรื่องการเข้า ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเพื่อพัฒนารูปแบบการบริการปฐมภูมิในกรุงเทพมหานคร 

      ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์; Chanuantong Tanasugarn; พิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล; Pipat Luksamijarulkul; ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ; Chardsumon Prutipinyo; จีรนันท์ แกล้วกล้า; Jeeranun Klaewkla; ทัศนีย์ รวิวรกุล; Tassanee Rawiworrakul; จงกล โพธิ์แดง; Jongkol Podang; วันวิสาข์ ศรีสุเมธชัย; Vanvisa Sresumatchai; มลินี สมภพเจริญ; Malinee Sombhopcharoen; มงคล อักโข; Mongkol Akko (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการสังเคราะห์ข้อเสนอเพื่อพัฒนารูปแบบการบริการปฐมภูมิในกรุงเทพมหานคร ใน 4 ศูนย์บริการสุขภาพนำร่อง คือ ศูนย์บริการสาธารณสุข 29 ศูนย์บริการสาธารณสุข 30 ศูนย์บริการสาธารณสุข 60 และศูนย์บริการสาธารณสุข 66 ...
    • ข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดการสุขภาพของผู้สูงอายุที่มีภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยใช้ความรอบรู้ด้านสุขภาพในบริบทคลินิกหมอครอบครัว: กรณีศึกษา PCC ในจังหวัดเพชรบุรี 

      อัจฉราวดี ศรียะศักดิ์; Atcharawadee Sriyasak; อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; จินตนา ทองเพชร; Jintana Tongphet; วารุณี เกตุอินทร์; Varunee Ket-in; ณัฐพร อุทัยธรรม; Nattaporn Utaitum; สุปราณี หมู่คุ่ย; Supranee Mookui; ทิพวัลย์ มีทรัพย์; Thipawan Meesub (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-07)
      การพัฒนาแนวทางการจัดการสุขภาพของผู้สูงอายุที่มีภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยใช้ความรอบรู้ด้านสุขภาพในบริบทคลินิกหมอครอบครัวเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญในการควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดและความดันโลหิตได้อย่างมีประสิทธิภ ...
    • ประสบการณ์ อุปสรรค สิ่งสนับสนุน และผลลัพธ์ของการดำเนินงานบริบาลทางเภสัชกรรมในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยเภสัชกรในคลินิกหมอครอบครัวในเขตสุขภาพที่ 6 

      สายชล ชำปฏิ; Saichon Schampati; สุวภาพ เตชะมหามณีรัตน์; Suwapab Techamahamaneerat; ใจนุช กาญจนภู; Jainuch Kanchanapoo; นฤมล โพธิ์ศรีทอง; Narumol Phosrithong; ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา; Thanompong Sathienluckana; ธีรภัทร์ ฉันทพันธุ์; Theerapat Chantapan; ศรัณยา กล่อมใจขาว; Saranya Klomjaikhao (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      โครงการวิจัยผสมผสานแบบแผนรองรับภายในต่อเนื่องกันมี 2 ส่วน ส่วนที่ 1 การวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาประสบการณ์ อุปสรรค และสิ่งสนับสนุนการดำเนินงานของเภสัชกรในคลินิกหมอครอบครัว การสนทนากลุ่มกับเภสัชกร 24 คน จาก 6 จังหวัดในเขตสุขภาพที่ ...
    • ผลกระทบของโปรแกรมดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงโดยทีมหมอครอบครัวในอำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น 

      สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; นวลจันทร์ แสนกอง; Nuanchan Saenkong; กฤษณี สระมุณี; Kritsanee Saramunee; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; ร่มตะวัน กาลพัฒน์; Romtawan Kalapat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ในปี 2559 รัฐบาลมีนโยบายขับเคลื่อนระบบการดูแลระยะยาว (long-term care: LTC) สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในอำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น มีการจัดบริการ LTC โดยมีทีมหมอครอบครัวและศูนย์ดูแลระยะยาว ...
    • ผลลัพธ์การดำเนินงานบริบาลทางเภสัชกรรมในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยเภสัชกรในคลินิกหมอครอบครัว: กรณีศึกษาเขตสุขภาพที่ 6 

      สายชล ชำปฏิ; Saichon Schampati; ธีรภัทร์ ฉันทพันธุ์; Theerapat Chantapan; ศรัณยา กล่อมใจขาว; Saranya Klomjaikhao; ใจนุช กาญจนภู; Jainuch Kanchanapoo; นฤมล โพธิ์ศรีทอง; Narumol Phosrithong; ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา; Thanompong Sathienluckana; สุวภาพ เตชะมหามณีรัตน์; Suwapab Techamahamaneerat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      โครงการวิจัยนี้เป็นการวิจัยผสมผสานแบบแผนรองรับภายในต่อเนื่องกันมี 2 ส่วน ส่วนที่ 1 การวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ ประสบการณ์ ปัญหาและอุปสรรคการดำเนินงานของเภสัชกรครอบครัวในคลินิกหมอครอบครัว ...
    • หมอครอบครัว ประชาชนอุ่นใจ มีญาติทั่วไทยเป็นทีมหมอครอบครัว 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06-09)
      Infographic จากงานวิจัย ผลการสำรวจสถานการณ์การดำเนินงานและความคิดเห็นต่อนโยบายการพัฒนาทีมหมอประจำครอบครัว อ่านงานวิจัยฉบับเต็มได้ที่ http://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4250

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV