• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "Health Policy"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 259

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • COVID-19 Research Policy Brief รวมงานวิจัยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับโควิด-19 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      เอกสารงานวิจัย เรื่อง COVID-19 Research Policy Brief รวมงานวิจัยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับโควิด-19 ฉบับนี้ อยู่ภายใต้โครงการวิจัย การศึกษาประเด็นท้าทายเพื่อพัฒนากรอบการติดตามและการประเมินผลของนโยบายวัคซีนโควิด-19 ...
    • Policy Brief - การศึกษาหน้าที่และอำนาจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลกในเรื่องการรับถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก กรณีศึกษาเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปกฎหมายและแก้ไขอนุบัญญัติที่เกี่ยวข้อง 

      คณิดา นรัตถรักษา; Kanida Narattharaksa; ธีรเดช นรัตถรักษา; Teeradej Narattharaksa; ปิยะ ศิริลักษณ์; Piya Sirilak; สุภินดา ศิริลักษณ์; Supinda Sirilak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-04)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหน้าที่และอำนาจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลกในเรื่องการรับถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก โดยนำเสนอปัญหาและอุปสรรคด้านกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ...
    • R2R กับนโยบายวิจัยสาธารณสุขเพื่อ Thailand 4.0 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      เอกสารนำเสนอในการประชุมวิชาการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย ประจำปี 2561 ภายใต้หัวข้อ "R2R To Future Health Care" วันที่ 13 กันยายน 2561 ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่
    • กรอบแนวคิดการวิจัยของระบบยาประเทศไทย 

      สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • กระบวนการสังเคราะห์ข้อมูลอย่างเร็วเพื่อตอบคำถามเชิงนโยบายสาธารณสุข เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบสาธารณสุขไทย และการกระจายอำนาจด้านสุขภาพสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย; Benjarin Santatiwongchai; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; ณชวิศ กิตติบวรดิฐ; Nachawish Kittibovorndit; นิชาต์ มูลคำ; Nicha Moonkham; มานิต สิทธิมาตร; Manit Sittimart; กานต์ชนก ศิริสอน; Kanchanok Sirison; อธิเจต มงคลโสฬส; Athijade Mongkolsoros; พสิษฐ์ ทองสีนุช; Pasit Thongsrinuch; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-08)
      การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ (health technology assessment, HTA) และข้อมูลวิชาการต่าง ๆ เป็นเครื่องมือสำคัญเพื่อประกอบการกำหนดนโยบายของผู้กำหนดนโยบาย อย่างไรก็ตามกระบวนการ HTA และสังเคราะห์ข้อมูลวิชาการที่จำเป็นเหล่านี้ ...
    • กลยุทธ์การผลักดัน (ร่าง) พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ 

      ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์; Tippawan Lorsuwannarat; สันติชัย อินทรอ่อน; สุขยืน เทพทอง; Suntichai Inthornon; Sookyuen Tepthong (คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2547)
      รายงานฉบับนี้เป็นการนำเสนอผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับกลยุทธ์การผลักดัน (ร่าง) พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ โดยนำแนวความคิดของการจัดการเชิงกลยุทธ์และเทคนิค TOWS Martix มาใช้ในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาได้เสนอกลยุทธ์ 4 ทางเลือก คือ ...
    • กลไกการประมวลสถานการณ์และการสนับสนุนงานวิชาการนโยบายและระบบสุขภาพ: กรณีการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; วิมลรัตน์ ถนอมศรีเดชชัย; Wimonrat Tanomsridachchai; ธนินทร์ พัฒนศิริ; Thanin Pattanasiri; ศักดิธัช อิทธิพิสิฐ; Sakditat Ittiphisit; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)
      โครงการนี้มีจุดประสงค์ที่จะพัฒนารูปแบบหรือกลไกการสนับสนุนทางวิชาการ สำหรับการตัดสินใจประเด็นเชิงนโยบายที่มีความซับซ้อนมีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายในระยะเวลาที่จำกัด โดยในโครงการนี้จะใช้ประเด็นการถ่ายโอนภารกิจสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ...
    • กลไกทางกฏหมายและกลไกทางนโยบายเพื่อสนับสนุนการลดการใช้สารเคมีการเกษตร 

      จุฑามาศ ต๊ะก่า; Jutamart Taka (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      แม้ว่านโยบายและกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสารกําจัดศัตรูพืชจะมีการพัฒนามากขึ้นเป็นลําดับ แต่พฤติกรรมของผู้ประกอบการในอันที่จะหลีกเลี่ยงการปฎิบัติตามกฎหมายก็มีส่วนสําคัญต่อการใช้สารกําจัดศัตรูพืชในประเทศไทยเป็นอย่างมากเช่นกัน ...
    • กลไกเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่นโยบายด้านสุขภาพและการค้าระหว่างประเทศ: กรณีศึกษาคณะกรรมการสนับสนุนการศึกษาและติดตามการเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายสุขภาพ (คจคส.) 

      วีระ หวังสัจจะโชค; Weera Wongsatjachock; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ชินวัฒน์ หรยางกูร; Shinawat Horayangkura; นพพล ผลอำนวย; Noppon Phon-amnuai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      บทความวิจัยฉบับนี้มุ่งศึกษาการทำงานของคณะกรรมการสนับสนุนการศึกษาและติดตามการเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายสุขภาพ (คจคส.) ในฐานะกลไกเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่นโยบาย เพื่อวิเคราะห์การดำเนินการและพิจารณ ...
    • การกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน 

      ทิพวรรณ ประภามณฑล; Thiphawan Phaphamonthon; พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; สมศรี ปัทมพันธุ์; อำนาจ มีเวที; Pongtap Vivantanadej; Amphika Mangkalaprik; Somsri Phatamaphan; Amnat Meevattee (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547)
      การกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการวิจัยให้ได้ข้อมูลนำไปกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรที่ใช้ส ...
    • การขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น 

      พีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์; Peerasit Kamnuansilpa; ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา; Tatchalerm Sudhipongpracha; ศิริศักดิ์ เหล่าจันขาม; Sirisak Laochankham; กฤชวรรธน์ โล่ห์วัชรินทร์; Grichawat Lowatcharin; ปานปั้น รองหานาม; Panpun Ronghanam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความพร้อมของระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่นที่รับถ่ายโอนภารกิจการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่กรณีศึกษา โดยตัวแบบนั้นต้องครอบคลุม ...
    • การขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น (ข้อเสนอเชิงนโยบาย) 

      พีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์; Peerasit Kamnuansilpa; ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา; Tatchalerm Sudhipongpracha; ศิริศักดิ์ เหล่าจันขาม; Sirisak Laochankham; กฤชวรรธน์ โล่ห์วัชรินทร์; Grichawat Lowatcharin; ปานปั้น รองหานาม; Panpun Ronghanam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) การขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น มีวัตถุประสงค์เพื่อ ...
    • การขับเคลื่อนเขตสุขภาพโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ 

      รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง; Rapeesupa Wangcharoenrung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-08)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ...
    • การคัดเลือกยา 

      อัญชลี จิตรักนที; Anchalee Jitraknatee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • การจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อสนับสนุนการพัฒนาแนวปฏิบัติและแนวทางการติดตามประเมินผลของระบบการแพทย์ทางไกล ผ่านการถอดบทเรียนในบริบทไทยและบริบทโลก 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ปภาดา ราญรอน; Papada Ranron; เบญจมพร เอี่ยมสกุล; Benjamaporn Eiamsakul; ปิยดา แก้วเขียว; Piyada Gaewkhiew; โชติกา สุวรรณพานิช; Chotika Suwanpanich; เฌอริลิณญ์ ประทุมสุวรรณ์; Sherilyn Pratumsuwan; ธนกิตติ์ อธิบดี; Thanakit Athibodee; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesophon; จิราธร สุตะวงศ์; Jiratorn Sutawong; ธนัยนันท์ ชวนไชยะกูล; Tanainan Chuanchaiyakul; Dabak, Saudamini Vishwanath; Prakash, Annapoorna; Chavarina, Kinanti Khansa; Myint, Aye Nandar; Liu, Sichen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      ภูมิหลัง : การแพทย์ทางไกลหรือโทรเวช (Telemedicine) ถือเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณสุขบนโลกดิจิทัล (Digital Health) โดยเป็นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่ช่วยส่งเสริมให้การให้บริการทางการแพทย์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ...
    • การจัดทำชุดตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติ 

      พิมลพรรณ อิศรภักดี; อุไรวรรณ คนึงสุขเกษม; รศรินทร์ เกรย์; พอตา บุญยตีรณะ (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2553)
      รายงานการจัดทำชุดตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติ (National Health Indicators) มีเป้าหมายการดำเนินงานเพื่อพัฒนาชุดตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติที่เป็นมาตรฐานและพัฒนาเครือข่ายที่เป็นกลไกผลักดันดัชนีสุขภาพแห่งชาติสู่การไปใช้ในระดับนโยบาย ...
    • การจัดทำทิศทางและโจทย์วิจัยเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พักตร์วิภา สุวรรณพรหม; Puckwipa Suwannaprom; ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; อัญชลี จิตรักนที; Anchalee Jitraknatee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบยา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ถูกจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2552 และให้การสนับสนุนทุนวิจัยรวมทั้งจัดการงานวิจัยอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสถานการณ์ในระบบยาของประเทศและปัจจัยแวดล้อม ...
    • การจัดทำร่างแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 13 พ.ศ. .... 

      รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง; Rapeesupa Wangcharoenrung; ดิเรก สุดแดน; Derek Sutdan; วิไลลักษณ์ เรืองรัตนตรัย; Wilailuk Ruangrattanatrai; ต้องการ จิตเลิศขจร; Tongkarn Jitlerdkajorn; สุทธิ สืบศิริวิริยะกุล; Sutthi Suebsiriviriyakul; ธนวรรธน์ จาดศรี; Thanawat Chatsri; พงศ์ภัค ศรีสิงหสงคราม; Pongpak Srisinghasongkram (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)
      รัฐบาลได้มีการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) เป็นแผนแม่บทหลักในการพัฒนาประเทศ (แผนระดับที่ 1) โดยมีการจัดทำแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดเอาไว้ และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศร ...
      ป้ายกำกับ:
      รายการแนะนำ
    • การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิยุคนโยบายสามหมอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 

      เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง; Chaweewan Sridawruang; เตือนใจ ภูสระแก้ว; Thuanjai Poosakaew; พิทยา ศรีเมือง; Phitthaya Srimuang; รุจิราลักขณ์ พรหมเมือง; Ruchiralak Prommueang; ไพฑูรย์ พรหมเทศ; Paitoon Promthet; รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง; Ratdawan Klungklang; ปณิตา ครองยุทธ; Panita Krongyuth; รุจี จารุภาชน์; Rujee Charupash (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ประชาชนไทยได้รับบริการสุขภาพปฐมภูมิแบบองค์รวมมาอย่างต่อเนื่อง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินสถานการณ์บริการสุขภาพปฐมภูมิและระบุปัจจัยที่มีผลต่อการจัดบริการตามระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ 7 ด้าน ได้แก่ การจัดบริการสุขภาพ ...
    • การตั้งและพัฒนาระบบการตรวจลำดับสารพันธุกรรมให้แก่ผู้ป่วยโรคพันธุกรรม โรคหายากและพิการ 

      วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์; Vorasuk Shotelersuk; กัญญา ศุภปีติพร; Kanya Suphapeetiporn; ประสิทธิ์ เผ่าทองคำ; Prasit Phowthongkum; ฑัณฑริรา พรทวีทัศน์; Thantrira Porntaveetus; ชูพงศ์ อิทธิวุฒิ; Chupong Ittiwut; รุ่งนภา อิทธิวุฒิ; Rungnapa Ittiwut; จุรีรัตน์ โพธิ์แก้ว; Chureerat Phokaew; นรินทร์ อินทรักษ์; Narin Intarak; ศิรประภา ทองกอบเพชร; Siraprapa Tongkobpetch; เฉลิมพล ศรีจอมทอง; Chalurmpon Srichomthong; อัจจิมา อัศวพิทักษ์สกุล; Adjima Assawapitaksakul; อาญญฬิฎา บัวสงค์; Aayalida Buasong; วรรณนา เชฎฐ์เรืองชัย; Wanna Chetruengchai; ธนากร ธีรภานนท์; Thanakorn Theerapanon; กรรณธ์ญาณัฐษ์ ทวีรัชธรรม; Kanyanut Thaweerachathum; ฐิติยา วรรณไสย; Thitiya Wannasai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      โรคหายากพบในประชากรมากกว่า 350 ล้านคนทั่วโลก และมากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ของโรคเกิดจากสาเหตุทางพันธุกรรม โรคหายากจำนวนมากเป็นโรคที่มีความรุนแรงและทำให้เกิดความพิการแต่แรกเกิด การวินิจฉัยโรคหายากมีความซับซ้อนสูงมาก ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV