• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "Health Promotion"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 114

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • The Companion Book For Field Trips The 21th IUHPE World Conference 

      Achara Suksamran (Health Systems Research Institute, 2013-08)
    • Financing Health Promotion in Southeast Asia- Does it match with current and future challenges? 

      Phusit Prakongsai; Kanitta Bundhamcharoen; Kanjana Tisayaticom; Viroj Tangcharoensathien (International Health Policy Program, 2008)
      Objective: There is policy concern over the growing trend of burden of diseases from non-communicable diseases (NCD) around the globe. In response to a call for increase investment in public health and to explore the ...
    • กฏบัตรออตตาว่าด้วยการสร้างเสริมสุขภาพและข้อเสนอแนะต่อนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ 

      ดวงใจ รุ่งโรจน์เจริญกิจ; Duangchai Rungrotcharoenkit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      คําประกาศอัลมา-แอตตา (The Declaration of Alma-Ata) ในทศวรรษที่ผ่านมาถือเป็นก้าวสําคัญในการเคลื่อนไหวเรื่อง สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All) นับตั้งแต่มีการเริ่มต้นประชุมสมัชชาสุขภาพโลกเมื่อค.ศ. 1977 การเคลื่อนไหวครั้งนี ...
    • กระบวนการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและการป้องกันโรคในช่องปากในหน่วยคู่สัญญาบริการระดับปฐมภูมิภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระยะที่ 1 : วิเคราะห์สถานการณ์ 

      ทรงวุฒิ ตวงรัตนพันธ์; Thorngwut Doungratanapan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาสถานการณ์และการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปากในหน่วยคู่สัญญาบริการระดับปฐมภูมิภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านี้ เป็นการศึกษาวิจัยแบบคุณภาพ ทั้งนี้พื้นที่เพื่อการศึกษาเป็นแบบการคัดเลือกเฉพาะ (purposive ...
    • การขยายผลการพัฒนาระบบสร้างเสริมความปลอดภัยรถรับส่งนักเรียนในเขตชนบท จังหวัดเชียงราย 

      งามนิตย์ ราชกิจ; Ngamnith Ratchakit; จรินทร์ อินทร์สุวรรณโณ; ชาญชัย กีฬาแปง; ชลลดา สายสืบ (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย, 2547)
      การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อขยายเครือข่ายการดำเนินงานสร้างเสริมความปลอดภัยในรถรับส่งนักเรียน ในเขตชนบทของจังหวัดเชียงราย พื้นที่ 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเทิน อำเภอพาน ...
    • การขยายผลองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพสู่ศูนย์สาธิตการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อการรับมือกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ระดับเขตสุขภาพ 

      วิมล โรมา; Wimon Roma; ภารุจีร์ เจริญเผ่า; Parujee Charoenphao; สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; กมลวรรณ สุขประเสริฐ; Kamonwan Sukprasert; ฐานิตา คุณารักษ์; Thanita Kunarak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-02)
      โครงการวิจัย เรื่องการขยายผลองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพสู่ศูนย์สาธิตการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อการรับมือกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับเขตสุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและประเมินผลกระบวนการขยายผลที่เหมาะสมในการขยายผลอง ...
    • การจัดการนโยบายสาธารณะและปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพของเทศบาลสามระดับในประเทศไทย 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ธีรพงษ์ คำพุฒ; Teerapong Khamput; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; Anond Kulthanmanusorn; จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jirapron Kamonrungsan; กิตติพงษ์ ภัสสร; Kittipong Patsorn; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      การจัดการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพเป็นการส่งเสริมสุขภาพประชาชนที่ต้นน้ำ โครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนเอื้อต่อการจัดการปัจจัยทางสังคม ด้วยการกำหนดรูปแบบการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชนในพื้นที่ การศึกษานี้มีว ...
    • การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเด็กแรกเกิด - 5 ปี และพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพของเด็กภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ประคิณ สุจฉายา; Prakin Suchaxaya; ศรีมนา นิยมค้า; อมรรัตน์ งามสวย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ศึกษาการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคสำหรับเด็กแรกเกิด-5 ปี และพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพของเด็กภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ศึกษาโดยการใช้แบบวิจัยเชิงพรรณนา และการสัมภาษณ์เจาะลึก ...
    • การจัดและการใช้บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเด็กอายุ 0-5 ปี ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ประคิณ สุจฉายา; Prakin Suchaxaya; ศรีมนา นิยมค้า; Srimana Niyomkar; อมรรัตน์ งามสวย; Amornrat Ngamsuoy (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      เด็กอายุ 0-5 ปี เป็นเด็กที่มีพัฒนาการและการเจริญเติบโตรวดเร็ว และมีปัญหาความเสี่ยงด้านสุขภาพและด้านพัฒนาการต่างๆ การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในเด็กกลุ่มนี้จึงเป็นเป้าหมายสำคัญในการดูแลเด็ก งานวิจัยเชิงพรรณานาน ...
    • การถ่ายทอดหลักฐานวิชาการกิจกรรมทางกายสู่นโยบายการสร้างเมืองที่กระฉับกระเฉง: การทบทวนวรรณกรรมแบบย่อ 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ หมวดที่ 11 มุ่งมั่นให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความครอบคลุม ปลอดภัย มีภูมิต้านทานและยั่งยืน เนื่องด้วยการขยายตัวของเมืองที่รวดเร็วส่งผลต่อการเพิ่มภาระโรคไม่ติดต่ออันเนื่อง ...
    • การทบทวนกฎหมายต่างประเทศเกี่ยวกับกองทุนส่งเสริมสุขภาพ 

      ศิระ บุญภินนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      กฎหมายด้านส่งเสริมสุขภาพ งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ทั่วไปในการค้นหากลไก และโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็น ต่อการรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพให้ประสพความสำเร็จ และมีวัตถุประสงค์เฉพาะคือ 1. ประมวลลักษณะข้อกฎหมาย และมาตรการทางกฎหม ...
    • การทบทวนและสังเคราะห์วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับแบบประเมินสมรรถนะระบบสุขภาพจากมุมมองผู้รับบริการที่พบในประเทศไทยและต่างประเทศ 

      ดรุณี ภู่ขาว; Darunee Phukao; อินทิรา ยมาภัย; จอมขวัญ โยธาสมุทร; Inthira Yamabhai; Jomkwan Yothasamut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      พบว่าในหลากหลายประเทศและในองค์กรระดับนานาชาติที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพ ได้มีการริเริ่มในการพัฒนากรอบแนวคิดการประเมินสมรรถนะระบบสุขภาพตลอดจนการพัฒนาตัวชี้วัด/เครื่องมือ/แบบประเมินสมรรถนะที่สอดคล้องกับกร ...
    • การบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของสิบสององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย 

      ธีรพงษ์ คำพุฒ; Theerapong Khamput; กิตติพงษ์ ภัสสร; Kittipong Patsorn; ธวัชชัย ทองบ่อ; Tawadchai Thongbo; เศวต เซี่ยงลี่; Sawed Seunglee; ธวัชชัย แคใหญ่; Tawatchai Keryai; วัชรินทร์ แสงสัมฤทธิ์ผล; Watcharin Sangsamritpol; มังกร พวงครามพันธุ์; Mungkorn Puangkrampun; จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jiraporn Kamonrungsan; ปทุมรัตน์ สามารถ; Pathumrat Samart; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      การส่งเสริมกิจกรรมทางกายต้องอาศัยความร่วมมือในการทำงานจากหลากหลายภาคส่วน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีโครงสร้างการบริหารงานที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้กับประชาชนในพื้นที่ชุมชนของตน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึ ...
    • การประยุกต์ใช้ระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมในระบบบริการสุขภาพภาครัฐทั้งสามระดับต่อการสร้างเสริมสุขภาพและการจัดบริการที่สอดคล้องกับบริบทภูมิสังคมในจังหวัดชายแดนใต้ 

      ซอฟียะห์ นิมะ; Sawpheeyah Nima; พาตีเมาะ นิมา; Patimoh Nima; อิลฟาน ตอแลมา; Ilfarn Tolaema (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-25)
      ภูมิหลังปัญหา: จังหวัดชายแดนใต้ ประกอบด้วย จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาสและ 4 อำเภอจังหวัดสงขลา คือ นาทวี จะนะ เทพาและสะบ้าย้อย ถือเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายของวิถีชีวิตภายใต้กรอบความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรมและกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ...
    • การประเมินการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในบริบทเมืองของไทยด้วยแผนปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโลก 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      กิจกรรมทางกายไม่เพียงพอเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับที่สี่ของการเสียชีวิตด้วยโรคไม่ติดต่อ เพื่อแก้ไขปัญหาการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ จึงมีการคิดค้นและสนับสนุนให้มีการปฏิบัติในประเทศไทย ซึ่งได้เน้นความสำคัญของทั้งสังคม ...
    • การประเมินความเป็นไปได้และความคุ้มค่าในการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ผ่านสายด่วนตั้งครรภ์ไม่พร้อม ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; ภิชารีย์ กรุณายาวงศ์; Picharee Karunayawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; มันตา กรกฎ; Manta Korakot; อธิพร เรืองทวีป; Atiporn Rueangthaweep; นภดล พิมสาร; Nopphadol Pimsarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-08)
      การยุติการตั้งครรภ์ หรือการทำแท้งในประเทศไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2554-2563 มีสัดส่วนเพิ่มสูงขึ้น โดยปัจจัยสำคัญของการยุติการตั้งครรภ์ คือ สภาพเศรษฐกิจและสังคม และปัจจัยด้านสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งหน่วยงานภาครัฐได้มีการพัฒนาร ...
    • การประเมินผลการนำสู่การปฏิบัติของสามมาตรการเชิงนโยบายของการส่งเสริมสุขภาพสำหรับกลุ่มวัยทำงาน ในระหว่าง ปี 2556 - 2560 

      สุณี วงศ์คงคาเทพ; Sunee Wongkongkathep; วิภา ด่านธำรงกูล; Vipa Danthamrongkul; อำนวย ภูภัทรพงศ์; Amnuay Phoophattarapong; ชัยรัชต์ จันทร์ตรี; Chairach Jantree; กุลพร สุขุมาลตระกูล; Kunlaporn Sukumaltakun; สุพิชชา วงค์จันทร์; Supitcha Wongchan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การประเมินผลการนำสู่การปฏิบัติของสามมาตรการเชิงนโยบายของการส่งเสริมสุขภาพสำหรับกลุ่มวัยทำงาน ในระหว่าง ปี 2556–2560 คือ มาตรการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ มาตรการองค์กรไร้พุง และมาตรการคลินิก DPAC วัตถุประสงค์การศึกษา คือ ...
    • การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการภายใต้กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ประจำปีงบประมาณ 2554 ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น 

      ทิพย์กาญจน์ ศรีโพนทอง; Thipkarn Sriphonthong; พยอม สุขเอนกนันท์; Phayom Sookaneknun; ชนัตถา พลอยเลื่อมแสง; Chanuttha Ploylearmsang; ณรงค์ อาสายุทธ; Narong Asayut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-09)
      การลงทุนในโครงการสร้างเสริมสุขภาพยังคงมีคำถามเรื่องความคุ้มค่า งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการภายใต้กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ประจำปีงบประมาณ 2554 โดยใช้รูปแบบซิป ประเมินเอกสารโครงการ ...
    • การประเมินโครงการอบรมวิทยากรที่ปรึกษาด้านการสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ 

      สุนีย์ ละกำปั่น; Sunee Lakampun; ทัศนีย์ นนทะสร; อรวรรณ แก้วบุญชู (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การประเมินโครงการอบรมวิทยากรที่ปรึกษาด้านการสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินปัจจัยนำเข้า กระบวนการดำเนินการอบรม ปัจจัยนำออก และผลลัพธ์ ของโครงการอบรมวิทยากรที่ปรึกษาด้านการสร้างเ ...
    • การพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวาน โดยการรับรู้ในความสามารถของตนเองและแรงสนับสนุนทางสังคมในอำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ 

      เฉลิมพร ชินาธิวร; Chalermporn Chinathivorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของการพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพโดยใช้กิจกรรมด้านการรับรู้ในความสามารถของตนเองและกิจกรรมด้านแรงสนับสนุนทางสังคม ในกลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยเบาหวาน 126 คน ที่มีค่าน้ำตาลในเลือดมากกว่า 180 มก./ดล. ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV