• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "Immune System"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-17 จาก 17

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การจัดทำระบบทะเบียนผู้ป่วยผื่นแพ้ยาชนิดรุนแรงแบบสหสถาบันแบบครบวงจร (ปีที่ 2) 

      เจตทะนง แกล้วสงคราม; Jettanong Klaewsongkram; ภาวิณี ฤกษ์นิมิตร; Pawinee Rerknimitr; ยุทธนา ศรีนวลประเสริฐ; Yuttana Srinoulprasert; สุปราณี บูรณประดิษฐ์กุล; Supranee Buranapraditkun; ทิชา ฤกษ์พัฒนาพิพัฒน์; Ticha Rerkpattanapipat; กุมุทนาถ จันทร์ประภาพ; Kumutnart Chanprapaph; ปภาพิต ตู้จินดา; Papapit Tuchinda; ลีนา จุฬาโรจน์มนตรี; Leena Chularojanamontri; ชุติกา ศรีสุทธิยากร; Chutika Srisutthiyakorn; วรีพร ดิสภานุรัตน์; Wareeporn Disphanurat; พัลลภ จักรวิทย์ธำรง; Panlop Chakkavittumrong; นภัทร โตวณะบุตร; Napatra Tovanabutra; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      ผู้ป่วยผื่นแพ้ยาชนิดรุนแรง จำนวน 195 ราย ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมในการวิจัยนี้ ผลการศึกษาพบว่าผื่นแพ้ยาชนิด Steven-Johnson syndrome/toxic epidermal necrolysis (SJS/TEN) และ drug reaction with eosinophilia and systemic ...
    • การติดตามการเปลี่ยนแปลงของภูมิต้านทานระยะยาวต่อ SARS-CoV-2 ในผู้ป่วยที่หายจากโรคโควิด-19 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; พิชญา นาควัชระ; Pijaya Nagavajara; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; จินตนา จิรถาวร; Chintana Chirathaworn; จิระ จันท์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; จิรัชญา พื้นผา; Jiratchaya Puenpa; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; อรุณี ธิติธัญญานนท์; Arunee Thitithanyanont; มานิต ศรีประโมทย์; Manit Sripramote; ปิติ ฉลองวิริยะเลิศ; Piti Chalongviriyalert; สุพรรณี จิรจริยาเวช; Supunnee Jirajariyavej; ภัทรพร เกียรติปานอภิกุล; Phatharaporn Kiatpanabhikul; จตุพร ไสยรินทร์; Jatuporn Saiyarin; ชุลีกร โสอุดร; Chuleekorn Soudorn; อรวรรณ เธียรไฝ่ดี; Orawan Thienfaidee; ฐิติสันต์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา; Thitisan Palakawong Na Ayuthaya; ฉันทพัทธ์ พฤกษะวัน; Chantapat Brukesawan; ดุจใจ ชัยวานิชศิริ; Dootchai Chaiwanichsiri; ดวงนภา อินทรสงเคราะห์; Duangnapa Intharasongkroh (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      ประเทศไทยเป็นอีกประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข และ เศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในเชื้อ SARS-CoV-2 ให้รวดเร็วที่สุด จึงเป็นสิ่งสำคัญ ดังนั้นงานวิจัยนี้ ...
    • การศึกษาความปลอดภัยและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อสายพันธุ์โอไมครอนของการฉีดวัคซีนเข็มที่ 3 ในชั้นผิวหนังและกล้ามเนื้อในผู้สูงอายุที่ได้รับวัคซีนแอสตร้าเซเนก้า 2 เข็ม 

      ประเสริฐ อัสสันตชัย; Prasert Assantachai; วิชัย ฉัตรธนวารี; Wichai Chatthanawaree; วีรศักดิ์ เมืองไพศาล; Weerasak Muangpaisan; สมบูรณ์ อินทลาภาพร; Somboon Intalapaporn; หฤษฎ์ ปัณณะรัส; Harisd Phannarus; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; ศันสนีย์ เสนะวงษ์; Sansnee Senawong; ปฏิมาพร วงษ์พรหมพิทักษ์; Patimaporn Wongprompitak; สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      วัคซีนโควิด-19 เข็มกระตุ้นมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงสูงหากมีการติดเชื้อโควิด-19 เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ จากการศึกษาพบว่า การฉีดวัคซีนเข้าชั้นผิวหนังมีประสิทธิภาพเทียบเท่าการฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ...
    • การศึกษาความปลอดภัยและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังการได้รับวัคซีนโควิด-19 ด้วยการฉีดเข้าในผิวหนัง เพื่อประโยชน์สูงสุดในการบริหารจัดการวัคซีน 

      สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; สมฤดี ฉัตรสิริเจริญกุล; Somruedee Chatsiricharoenkul; ศันสนีย์ เสนะวงษ์; Sansnee Senawong; ปฏิมาพร วงษ์พรหมพิทักษ์; Patimaporn Wongprompitak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      หลักการและเหตุผล: เนื่องด้วยประเทศไทยมีการระบาดโรคโควิด-19 หลายระลอก เป็นเหตุให้การนำเข้าวัคซีนโควิด-19 ในช่วงแรกไม่เพียงพอต่อการกระจายวัคซีนให้กับประชากร ดังนั้น การให้วัคซีนด้วยการฉีดเข้าชั้นผิวหนัง (Intradermal: ID) ...
    • การศึกษาผลกระทบทางภูมิคุ้มกันของฝุ่นพิษ PM2.5 ต่อโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ 

      พงศกร ตันติลีปิกร; Pongsakorn Tantilipikorn; บุญรัตน์ ทัศนีย์ไตรเทพ; Boonrat Tassaneetrithep; เจตน์ ลำยองเสถียร; Jate Lumyongsatien; ไตรภูมิ สุวรรณเวช; Triphoom Suwanwech; มงคล สมพรรัตนพันธ์; Mongkhon Sompornrattanaphan; สุวิมล เจตะวัฒนะ; Suwimol Jetawattana; อิทธิพล พ่ออามาตย์; Ittipol Pawarmart; จินตนา พาวงค์; Chintana Phawong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      ปัจจุบันปัญหาหนึ่งที่สำคัญและมีผลกระทบต่อประชากรทั่วโลกทั้งในด้านสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคม คือ ปัญหามลพิษจากฝุ่นละอองในอากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งฝุ่นละออง (Particulate Matter, PM) ซึ่งก่อให้เกิดการเสียชีวิตของผู้คนเพิ่มขึ้นใน ...
    • การศึกษาภูมิคุ้มกันในผู้ที่หายและผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อจากโรคโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19) 

      ปกรัฐ หังสสูต; Pokrath Hansasuta; ภาวพันธ์ ภัทรโกศล; Parvapan Bhattarakosol; เอกสิทธิ์ โกวิทย์ดำรงค์; Ekasit Kowitdamrong; ญาดา ตันสิริ; Yada Tansiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาวิจัยในประเทศไทยถึงการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ SARS-CoV-2 ในผู้กำลังติดเชื้อโรค COVID-19 และผู้ใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงสูง งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันผ่านการสร้างแอนติบอดี ...
    • การศึกษาระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคไวรัสตับอักเสบ เอ บี ซี หัด หัดเยอรมัน คางทูม สุกใส คอตีบ บาดทะยัก และไอกรน ในประชากรจังหวัดชลบุรี 

      ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; อภิรัต กตัญญุตานนท์; Apirat Katanyutanon; วิชัย ธนาโสภณ; Wichai Thanasopon; วิชาญ บุญกิติกร; Wichan Bhunyakitikorn; ชนินันท์ สนธิไชย; Chaninan Sonthichai; ปิยดา อังศุวัชรากร; Piyada Angsuwatcharakon; ปรางณพิชญ์ วิหารทอง; Prangtip Wihanthong; หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์; Nungruthai Suntronwong; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)
      วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่มีในแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน (Expanded Program on Immunization, EPI) ได้แก่ โรคไวรัสตับอักเสบ บี หัด หัดเยอรมัน คางทูม คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ...
    • การศึกษาวิทยาภูมิคุ้มกันและอณูพันธุศาสตร์ของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการวินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปี ในประเทศไทย 

      ณัฐเชษฐ์ เปล่งวิทยา; Nattachet Plengvidhya; วทิพย์ ตั้งจิตติโภคิน; Watip Tangjittipokin; ทัศนีย์ นาคดนตรี; Tassanee Narkdontri; นิภาภรณ์ ธีระวัฒนพงศ์; Nipaporn Teerawattanapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      ในปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีการศึกษาข้อมูลทางระบาดวิทยาเกี่ยวกับโรคเบาหวานที่วินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปี ในระยะยาว การศึกษาในเด็กและวัยรุ่นชาวไทยได้รับการตีพิมพ์เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 5 ปี มาแล้ว ข้อมูลการศึกษาล่าสุดมีแนวโน้มพบว่า ...
    • การศึกษาเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ 2 ครั้ง และการให้วัคซีนเชื้อตายตามด้วยวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอในเด็กอายุ 5 ถึง 11 ปี 

      ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณัฐินี สุทธินรเศรษฐ์; Natthinee Sudhinaraset; สิทธิชัย กนกอุดม; Sitthichai Kanokudom; หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์; Nungruthai Suntronwong; จิระ จันทร์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; ทักษพร ทัศนาธร; Thaksaporn Thatsanatorn; ดลชิดา ศรีเหมือน; Donchida Srimuan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ 2 เข็ม และการให้วัคซีนเชื้อตาย 1 หรือ 2 เข็ม และตามด้วยวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอในเด็กอายุ 5 ถึง 11 ปี วิธีการศึกษา: ...
    • การสร้างและพัฒนาแพลตฟอร์มการแก้ไขจีโนมเพื่อการรักษาอย่างจำเพาะในโรคพันธุกรรมชนิดรุนแรง (ปีที่ 2) 

      กัญญา ศุภปีติพร; Kanya Suphapeetiporn; นิพัญจน์ อิศรเสนา ณ อยุธยา; Nipan Israsena; วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์; Vorasuk Shotelersuk; นริศรา สุรทานต์นนท์; Narissara Suratannon; แพรวพรรณ อิงรุ่งเรืองเลิศ; Praewphan Ingrungruanglert; รุ่งนภา อิทธิวุฒิ; Rungnapa Ittiwut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)
      โรคที่เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมมีความหลากหลายมาก บางโรคมีความรุนแรงทำให้ผู้ป่วยทุพพลภาพหรือเสียชีวิตในเวลาไม่นาน ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องแบบปฐมภูมิ หรือ Primary Immunodeficiency Disorders (PIDs) เป็นโรคทางพันธุกรรม ...
    • ความปลอดภัยและผลการกระตุ้นภูมิต้านทาน ในประชากรผู้ใหญ่หลังให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย (Sinovac) ครบแล้ว 2 เข็ม ด้วยวัคซีนโควิด-19 ชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกัน 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ณัฐินี สุทธินรเศรษฐ์; Natthinee Sudhinaraset; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์; Nungruthai Suntronwong; สมพงษ์ วงษ์พันสวัสดิ์; Sompong Vongpunsawad; จิรัชญา พื้นผา; Jiratchaya Puenpa; จิระ จันท์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; พรพิตรา ประเทศรัตน์; Pornpitra Pratedrat; ชมพูนุช อู่พิมาย; Chompoonut Auphimai; ทักษพร ทัศนาธร; Thaksaporn Thatsanatorn; ดลชิดา ศรีเหมือน; Donchida Srimuan; สุวิชาดา อัศวโกสีย์; Suvichada Assawakosri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 (โควิด-19) ได้กลายเป็นปัญหาด้านการดูแลสุขภาพและสาธารณะมีความรุนแรงทั่วโลกนับตั้งแต่เกิดการระบาดครั้งแรกในปลายเดือนธันวาคม 2019 ปัจจุบันมีการใช้วัคซีนโควิด-19 ในหลายประเทศแต่ก็ยั ...
    • ความปลอดภัยและผลการกระตุ้นภูมิต้านทาน ในประชากรผู้ใหญ่หลังให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ เข็มที่ 4 จากผู้ที่มีประวัติการได้รับวัคซีนโควิด-19 มาแล้ว 3 เข็ม, การศึกษาเชิงคลินิก 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; จิระ จันทร์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์; Nungruthai Suntronwong; ทักษพร ทัศนาธร; Thaksaporn Thatsanatorn; ดลชิดา ศรีเหมือน; Donchida Srimuan; สุวิชาดา อัศวโกสีย์; Suvichada Assawakosri; สิทธิชัย กนกอุดม; Sitthichai Kanokudom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของความปลอดภัยและผลของการกระตุ้นภูมิคุ้มกันของการให้วัคซีนเข็มที่ 4 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ ภายหลังการให้วัคซีน 3 เข็มในรูปแบบต่างๆ หลังจากนั้นทำการเปรียบเทียบผลการศึกษาดังกล่าวระหว่างกลุ่ม BNT162b2 ...
    • ความปลอดภัยและผลการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังการได้รับวัคซีนโควิด 19 ด้วยการฉีดเข้าในผิวหนัง ในอาสาสมัครที่ได้รับวัคซีนเข็มแรก และที่ได้รับวัคซีนกระตุ้น 

      สมฤดี ฉัตรสิริเจริญกุล; Somruedee Chatsiricharoenkul; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit; ศันสนีย์ เสนะวงษ์; Sansnee Senawong; สุวิมล นิยมในธรรม; Suvimol Niyomnaitham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      เนื่องด้วยพบการระบาดในประเทศไทยในหลายระลอก การนำเข้าวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ในช่วงแรกไม่เพียงพอต่อการกระจายวัคซีนไปยังประชากรทั่วประเทศ การให้วัคซีนด้วยการฉีดเข้าในชั้นผิวหนังจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ซึ่งนอกจากจะใช้วัคซี ...
    • ประสิทธิผลการใช้พลาสมาของผู้ที่หายป่วยจากโรคโควิด-19 สำหรับรักษาผู้ป่วย โควิด-19 ที่มีภาวะปอดบวมระดับปานกลางถึงรุนแรง 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ดุจใจ ชัยวานิชศิริ; Dootchai Chaiwanichsiri; จินตนา จิรถาวร; Chintana Chirathaworn; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; พรพิตรา ประเทศรัตน์; Pornpitra Pratedrat; โอภาส พุทธเจริญ; Opass Putcharoen; สมชาย ธนะสิทธิชัย; Somchai Thanasitthichai; อรุณี ธิติธัญญานนท์; Arunee Thitithanyanont; ประเสริฐ เอื้อวรากุล; Prasert Auewarakul; ปาริชาติ เพิ่มพิกุล; Parichart Permpikul; สมนึก สังฆานุภาพ; Somnuek Sungkanuparph; นิธิตา นันทตันติ; Nithita Nanthatanti; ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์; Chaicharn Deerochanawong; สมคิด อุ่นเสมาธรรม; Somkid Ounsematham; เปี่ยมลาภ แสงสายัณห์; Piamlarp Sangsayunh; วีรวัฒน์ มโนสุทธิ; Weerawat Monosuthi; วิชัย เตชะสาธิต; Wichai Techasathit; พลิตา เหลืองชูเกียรติ; Palita Lungchukiet (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      โรคอุบัติใหม่โควิด-19 ที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่มีการระบาดไปทั่วโลก โดยเริ่มพบการแพร่ระบาดของเชื้อครั้งแรกเมื่อเดือนธันวาคม 2562 ในนครอู่ฮั่น เมืองหลวงของมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การ ...
    • ประสิทธิผลของวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย: การศึกษาในสถานการณ์จริง (ปีที่ 2) 

      ภาสกร ศรีทิพย์สุโข; Paskorn Sritipsukho; บุญยิ่ง ศิริบำรุงวงศ์; Boonying Siribumrungwong; พิชญ ตันติยวรงค์; Pichaya Tantiyavarong; อารยา ศรัทธาพุทธ; Araya Satdhabudha; พรรณศจี ดำรงเลิศ; Pansachee Damronglerd; พีร์ จารุอำพรพรรณ; Peera Jaru-ampornpan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      งานวิจัยนี้เป็นการศึกษา Test Negative Case Control Study เพื่อประเมินประสิทธิผลของสูตรวัคซีนต่างๆ สำหรับป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 และโรคโควิด-19 ที่รุนแรง โดยคัดเลือกผู้เข้าเกณฑ์การสอบสวนการติดเชื้อ (Patient Under ...
    • ผลระยะยาวของการให้วัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี เมื่อแรกเกิด และวัคซีนรวมที่มีวัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี อยู่ด้วย ในเด็กอายุ 2, 4, 6 และ 18 เดือน ศึกษาในเด็กอายุ 4 และ 5 ปี และการศึกษาระดับภูมิต้านทานและการตอบสนองของภูมิต้านทานต่อไวรัสตับอักเสบ บี หลังให้วัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี เมื่อแรกเกิด และวัคซีนรวม DTPw-HiB-HB+OPV ที่ 2, 4, 6 เดือน ในแผนการให้วัคซีนแห่งชาติ 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; นภา พฤฒารัตน์; Napa Pruetarat; นวรัตน์ โพธิ์สุวรรณ; Nawarat Posuwan; สมพงษ์ วงษ์พันสวัสดิ์; Sompong Vongpunsawad; พรศักดิ์ อยู่เจริญ; Pornsak Yoocharoen; กาญจนา พันธุ์พานิช; Kanchana Phanphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      ประเทศไทยเริ่มให้วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี แก่เด็กแรกเกิดทั่วทั้งประเทศในปี พ.ศ. 2535 และต่อมาก็มีการปรับเปลี่ยนตารางการให้วัคซีนแก่เด็กและในอนาคตองค์การอนามัยโลกจะยกเลิกการให้วัคซีนโปลีโอแบบหยอดเป็นแบบฉีด ...
    • ภูมิต้านทานในการให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดต่างๆ กระตุ้นเข็ม 3 ในผู้ใหญ่ที่ได้รับวัคซีนครบ 2 เข็ม ตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุข 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; จิระ จันทร์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์; Nungruthai Suntronwong; ทักษพร ทัศนาธร; Thaksaporn Thatsanatorn; ดลชิดา ศรีเหมือน; Donchida Srimuan; สุวิชาดา อัศวโกสีย์; Suvichada Assawakosri; สิทธิชัย กนกอุดม; Sitthichai Kanokudom; วิทักษ์ วิทักษบุตร; Withak Withaksabut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-02)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดโปรตีนซับยูนิตหรือวัคซีนโคโวแวกซ์ เมื่อให้เป็นเข็มกระตุ้นในประชากรผู้ใหญ่ที่เคยได้รับวัคซีนมาแล้ว 2 เข็มในสูตรต่างๆ โดยศึกษาแบบ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV