เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "Kidneys"
แสดงรายการ 1-12 จาก 12
-
การดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง: การรักษา การเฝ้าระวัง และการป้องกันการติดเชื้อที่สัมพันธ์กับการล้างไตทางช่องท้องโดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-02)ภาวะติดเชื้อที่สัมพันธ์กับการล้างไตทางช่องท้องเป็นสาเหตุสำคัญของการสิ้นสุดกระบวนการบำบัดทดแทนไตด้วยการล้างไตทางช่องท้อง การเจ็บป่วย และการเสียชีวิต ตลอดจนเพิ่มค่าใช้จ่ายทางสาธารณสุข ในการรักษาภาวะติดเชื้อดังกล่าวแนวทางกา ... -
การพัฒนาระบบการแพทย์ทางไกลเพื่อการดูแลรักษาผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง บทเรียนจากการระบาดของ โควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)ภูมิหลังและเหตุผล ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการบำบัดทดแทนไตถือได้ว่าเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อโควิด-19 จากนโยบายการเว้นระยะห่างทางสังคม ทำให้โรงพยาบาลต้องเลื่อนนัดผู้ป่วยออกไป ระเบียบวิธีศึกษา ... -
การพัฒนาระบบแพทย์ทางไกลเพื่อการดูแลรักษาผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง บทเรียนจากระบาดของโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการให้บริการแพทย์ทางไกล และระบบการจัดการยาสำหรับผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง 2) พัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อประเมินสภาพผู้ป่วยล้าง ... -
การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการล้างไตผ่านทางช่องท้องด้วยวิธี Automated Peritoneal Dialysis เปรียบเทียบกับ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis ในผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายโดยใช้วิธีแบบจำลองมาร์คอฟ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)บทนำ : ในปัจจุบันการล้างไตด้วยวิธี Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis (CAPD) บรรจุในชุดสิทธิประโยชน์ของสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในขณะที่วิธี Automated Peritoneal Dialysis (APD) มีค่าใช้จ่ายที่สูงและยังไม่บรรจ ... -
การศึกษาการกลายพันธุ์ของยีนด้วยวิธีการตรวจหาลำดับเบสของเอ็กโซมในกลุ่มอาการเนโฟรติกที่ไม่ตอบสนองต่อยาสเตียรอยด์ในผู้ป่วยเด็กไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-04)ที่มา : กลุ่มอาการเนโฟรติกแบบปฐมภูมิ (Idiopathic Nephrotic Syndrome, INS) เป็นโรคไตที่พบบ่อยที่สุดในผู้ป่วยเด็ก การกลายพันธุ์ของยีนก่อโรคเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดโรคนี้ในผู้ป่วยเด็กแรกเกิด และเด็กที่ไม่ตอบสนองต่อยาสเตียรอยด์ ... -
การศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้านเซลล์ต่อวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ขนาดต่างๆ ในผู้ป่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01-12)ความสำคัญและที่มา : มีการศึกษาก่อนหน้านี้พบว่าการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการป้องกันการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่จากการได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ขนาดมาตรฐานในกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ต้องได้รับการล้างไตด้วยวิธีการฟอกเลือดนั้นมีร ... -
การศึกษาคุณภาพชีวิตและผลลัพธ์ทางคลินิกในการล้างไตผ่านทางช่องท้องด้วยวิธี Automated Peritoneal Dialysis เปรียบเทียบกับ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis ในผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09-30)บทนำ : การล้างไตผ่านทางช่องท้อง (Peritoneal Dialysis, PD) เป็นการบำบัดทดแทนไตตัวเลือกส่วนใหญ่สำหรับผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย (End Stage Kidney Disease, ESKD) ซึ่ง Automated Peritoneal Dialysis (APD) เป็นวิธีล้า ... -
การศึกษาระดับภูมิคุ้มกันของวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ขนาดมาตรฐานหนึ่งเข็ม เทียบกับ ขนาดมาตรฐานสองเข็ม ในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)ความสำคัญและที่มา : การให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่กับผู้ป่วยไตเรื้อรังเป็นมาตรการสำคัญในการลดโอกาสการติดเชื้อและลดภาวะแทรกซ้อนหรืออัตราการเสียชีวิตที่เกิดจากการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ เนื่องด้วยผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังมีการทำงานของร ... -
ความพึงพอใจการล้างไตทางช่องท้องและทัศนคติต่อการปลูกถ่ายไตในผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการ PD First Policy
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)โครงการ Peritoneal Dialysis First Policy ได้เข้ามามีบทบาททำให้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (end-stage renal disease) ได้รับการล้างไต และช่วยเพิ่มอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายตั้งแต่ปี พ.ศ. ... -
ประสิทธิผลและความปลอดภัยของยาคลอเฮ็กซิดีนชนิดแผ่นผ้าเปรียบเทียบกับยาขี้ผึ้งมิวพิโรซินในการป้องกันการติดเชื้อที่สัมพันธ์กับการล้างไตทางช่องท้อง: การศึกษาทดลองเปรียบเทียบกลุ่มควบคุมแบบสุ่มแบ่งชั้น ชนิดปกปิด 2 ทาง (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)ที่มาและความสำคัญของปัญหา: การติดเชื้อที่สัมพันธ์กับการล้างไตทางช่องท้องเป็นสาเหตุที่สำคัญของการสิ้นสุดกระบวนการบำบัดทดแทนไตด้วยการล้างไตทางช่องท้อง การเจ็บป่วยและการเสียชีวิต ตลอดจนเพิ่มค่าใช้จ่ายทางสาธารณสุข อย่างไรก็ต ... -
ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของนวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังแบบไร้รอยต่อและครอบคลุมด้วยระบบสุขภาพระยะไกล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)โครงการป้องกันและชะลอโรคไตเรื้อรังในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ดำเนินการสร้างรูปแบบ (โมเดล) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดปัญหาสุขภาพในชุมชน ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา พบว่าสิ่งที่มีผลต่อการดูแลรักษาที่ดี คือ การได้รับการดูแลแบบเ ... -
สถานการณ์บริการบำบัดทดแทนไตในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) สถานการณ์บริการบำบัดทดแทนไตในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เนื้อหาประกอบด้วย 1) บริการบำบัดทดแทนไต 2) การเพิ่มขึ้นของผู้รับบริการบำบัดทดแทนไต และงบประมาณบริการ (รวมทุกสิทธิ) 3) การเปลี่ยนแ ...